Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24491
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ปูรณโชติ | |
dc.contributor.author | สมบูรณ์ ทองพลาย | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-18T16:03:51Z | |
dc.date.available | 2012-11-18T16:03:51Z | |
dc.date.issued | 2526 | |
dc.identifier.isbn | 9745618438 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24491 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสถานภาพทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก 3 จังหวัด คือ จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ในปีการศึกษา 2524 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกโรงเรียนใน 3 จังหวัดดังกล่าว ซึ่งมี 58 โรงเรียน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจโรงเรียนที่ดัดแปลงมาจากแบบสำรวจโรงเรียนของ วิพัฒน์ ปานชุ่มจิต และของ ประสิทธิ์ พงษ์เรืองพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาของแต่ละโรงเรียนในแต่ละระดับ ซึ่งคำนวณมาจากอัตราส่วนระหว่างตัวแปรกับจำนวนนักเรียนของแต่ละโรงเรียน ตัวแปรทั้งหมดมี 20 ตัวแปร เช่น จำนวนครูประจำการ พื้นที่ทั้งหมดของโรงเรียน และพื้นที่ของโรงฝึกงาน เป็นต้น ดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษานี้มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 200 และมีค่ากลางเท่ากับ 100 เปรียบเทียบตัวแปรบางตัวกับเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และของสถาบันวิจัยอาคารเรียนแห่งเอเซีย และศึกษาตัวแปรทางด้านคุณวุฒิและวิชาเอก-โทของครู ชุมนุมหรือชมรมของนักเรียน อุปกรณ์การสอน และวิชาเลือกทางด้านอาชีพ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังต่อไปนี้ โรงเรียนมัธยมศึกษาระดับ ม.1 - ม.3 จำนวน 37 โรงเรียน ปรากฏว่า 1. ดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษามีค่าระหว่าง 42.90 ถึง 218.22 สูงสุดคือ โรงเรียนผานิตวิทยา จังหวัดฉะเชิงเทรา ต่ำสุดคือ โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง โรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษามากกว่า 200 มี 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนผานิตวิทยา จังหวัดฉะเชิงเทรา และโรงเรียนเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี โรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาระหว่าง 100 ถึง 200 มี 10 โรงเรียน อยู่ในจังหวัดชลบุรี 6 โรงเรียน ระยอง 1 โรงเรียน และฉะเชิงเทรา 3 โรงเรียน โรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาต่ำกว่า 100 ซึ่งเป็นค่ากลางของมาตราส่วน 0 ถึง 200 มี 25 โรงเรียน อยู่ในจังหวัดชลบุรี 12 โรงเรียน ระยอง 7 โรงเรียน และฉะเชิงเทรา 6 โรงเรียน โรงเรียนเล็กส่วนมากมีดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาสูงกว่าโรงเรียนใหญ่ 2. โรงเรียนส่วนใหญ่ยังไม่มีห้องเฉพาะวิชา เช่น ห้องพลศึกษา โรงฝึกงานวิชาเกษตรกรรมศิลป์ โรงฝึกงานวิชาคหกรรมศิลป์ โรงฝึกงานวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ ห้องศิลปศึกษา โรงอาหาร และห้องแนะแนว ครูส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี โรงเรียนส่วนใหญ่มีครูเพียงพอกับจำนวนนักเรียน โดยเฉลี่ยอัตราส่วนของครูต่อนักเรียน เท่ากับ 1:14 โรงเรียนส่วนใหญ่มีชุมนุมหรือชมรมทางด้านวิชาสามัญ และมีวิชาเลือกทางด้านอาชีเกษตรกรรมศิลป์ โรงเรียนมัธยมศึกษาระดับ ม.1- ม.4, ม.ศ.4 - ม.ศ.5 จำนวน 21 โรงเรียนปรากฏว่า 1. ดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษามีค่าระหว่าง 69.61 ถึง 152.20 สูงสุดคือโรงเรียนบางปะกง “บวรวิทยายน” ต่ำสุดคือโรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” จังหวัดฉะเชิงเทราทั้ง 2 โรงเรียน โรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาระหว่าง 100 ถึง 200 มี 7 โรงเรียนอยู่ในจังหวัดชลบุรี 2 โรงเรียนระยอง 1 โรงเรียนและฉะเชิงเทรา 4 โรงเรียนโรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาต่ำกว่า 100 ซึ่งเป็นค่ากลางของมาตาส่วน 0 ถึง 200 มี 14 โรงเรียนอยู่ในจังหวัดชลบุรี 8 โรงเรียนระยอง 3 โรงเรียนและฉะเชิงเทรา 3 โรงเรียน โรงเรียนเล็กส่วนมากมีดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาสูงกว่าโรงเรียนใหญ่ 2 โรงเรียนส่วนใหญ่ยังไม่มีห้องเฉพาะวิชาบางวิชา เช่น โรงฝึกงานเกษตรกรรมศิลป์ และห้องศิลปศึกษา ส้วมของนักเรียนและหนังสือในห้องสมุดส่วนใหญ่ยังมีไม่พอ ครูส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี โรงเรียนส่วนใหญ่มีครูจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน ครูส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี โรงเรียนส่วนใหญ่มีครูเพียงพอกับจำนวนนักเรียน โดยเฉลี่ยอัตราส่วนของครูต่อนักเรียน เท่ากับ 1:14 โรงเรียนส่วนใหญ่มีชุมนุมหรือชมรมทางด้านวิชาสามัญ และมีวิชาเลือกทางด้านอาชีเกษตรกรรมศิลป์ โรงเรียนมัธยมศึกษาระดับ ม.1- ม.4, ม.ศ.4 - ม.ศ.5 จำนวน 21 โรงเรียนปรากฏว่า 1. ดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษามีค่าระหว่าง 69.61 ถึง 152.20 สูงสุดคือโรงเรียนบางปะกง “บวรวิทยายน” ต่ำสุดคือโรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” จังหวัดฉะเชิงเทราทั้ง 2 โรงเรียน โรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาระหว่าง 100 ถึง 200 มี 7 โรงเรียนอยู่ในจังหวัดชลบุรี 2 โรงเรียนระยอง 1 โรงเรียนและฉะเชิงเทรา 4 โรงเรียนโรงเรียนที่มีค่าดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาต่ำกว่า 100 ซึ่งเป็นค่ากลางของมาตาส่วน 0 ถึง 200 มี 14 โรงเรียนอยู่ในจังหวัดชลบุรี 8 โรงเรียนระยอง 3 โรงเรียนและฉะเชิงเทรา 3 โรงเรียน โรงเรียนเล็กส่วนมากมีดัชนีบ่งชี้สถานภาพทางการศึกษาสูงกว่าโรงเรียนใหญ่ 2 โรงเรียนส่วนใหญ่ยังไม่มีห้องเฉพาะวิชาบางวิชา เช่น โรงฝึกงานเกษตรกรรมศิลป์ และห้องศิลปศึกษา ส้วมของนักเรียนและหนังสือในห้องสมุดส่วนใหญ่ยังมีไม่พอ ครูส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี โรงเรียนส่วนใหญ่มีครูจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน โดยเฉพาะส่วนของครูต่อนักเรียนเท่ากับ 1 : 17 โรงเรียนส่วนใหญ่มีชุมนุมหรือชมรมทางด้านวิชาสามัญ และมีวิชาเลือกทางด้านอาชีพเกษตรกรรมศิลป์ | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study the educational status of secondary schools in the East – Coast provinces (Chonburi, Rayong and Chacoengsao) in the academic year 1981. Aschool survey method was employed to collect data concerning secondary school status. The obtained data was analyzed by computing the educational status index of each school (computed from the ratios of variable with number of students. There were twenty variables such as number of school teachers, school areas and shop areas etc. The education status index was ranged from 0 to 200 and the median was 100), comparing some variables with some standards of the Ministry of Education and the Asian Regional Institute for School Building Research and describing teachers’ qualification and their major-minor subjects, students’ clubs, school equipment and elective vocational subjects. Major findings were as follow: Thirty – seven secondary schools level M.1 – M.3 showed: 1. The educational status index was ranged from 42.90 to 218.22. Panitvitaya School of Chachoengsao had the highest educational status index and Mabtaputpunpitayakarn School of Rayong had the lowest one. Panitvitaya School. And Kao Srichung School of Chonburi had the educational status index over 200. There were six schools in Chonburi, one school in Rayong and three schools in Chachoengsao which had the educational status index between 100 – 200. There were twelve schools in chonburi, seven schools in Rayong and six schools in Chachoengsao which had the educational status index below 100 (the median of scale 0 to 200). Most small schools had the educational status index higher than large schools. 2. Most schools had no specific room such as gymnasium, agricultural arts shop, home science laboratory, industrial arts shop, arts shop, cafeteria and counseling room. Most teachers hold a Bachelor’s Degree. The ratios of teacher per students were suitable (1 : 14). Most students’ clubs were about academic subjects and most schools offered elective vocational subjects about agricultural arts. Twenty-one secondary schools level M.1 – M.4, M.S.4 – M.S.5 showed: 1. The educational status index was ranged from 69.61 to 152.21. Bangpakong “Sorvonvitayayon” School of Chachoengsao had the highest educational status index and Panomsarakarm “Panomadulvitaya” School of Chachoengsao had the lowest one. There were two schools in chonburi, one school in Rayong and four schools in Chachoengsao which had the educational status index between 100 – 200. There were eight schools in Chonburi, three schools in Rayong and three schools in Chachoengsao which had the educational status index below 100 (the median of scale 0 to 200). Most small school had the educational status index higher than large schools. 2. Most schools had no specific room such as agricultural arts shop and art shop. The number of toilets and the number of libarial books were lower than standard. Most teachers hold a Bachelor’s Degree. The ratios of teacher per students were not suitable (1 : 17). Most students’ clubs were about academic subjects and most schools offered elective vocational subjects about agricultural arts. | |
dc.format.extent | 709010 bytes | |
dc.format.extent | 578449 bytes | |
dc.format.extent | 2560404 bytes | |
dc.format.extent | 642145 bytes | |
dc.format.extent | 4980556 bytes | |
dc.format.extent | 2826325 bytes | |
dc.format.extent | 1734024 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | สถานภาพทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก | en |
dc.title.alternative | The educational status of secondary schools in the east-coast provinces | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somboon_Th_front.pdf | 692.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_ch1.pdf | 564.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_ch2.pdf | 2.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_ch3.pdf | 627.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_ch4.pdf | 4.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_ch5.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somboon_Th_back.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.