Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ ปัทมาคม
dc.contributor.advisorไพบูลย์ เทวรักษ์
dc.contributor.authorสมเดช ธัชประมุข
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-18T16:31:16Z
dc.date.available2012-11-18T16:31:16Z
dc.date.issued2525
dc.identifier.isbn9745615471
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24495
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถในการรับรู้จากการดูแบบทัศนะและแบบแฮพติคที่เรียนด้วยวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยว และวิธีเสนอภาพแบบผสม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ผ่านการคัดเลือกด้วยแบบทดสอบโลเวนเฟลด์ เทสท์ ซับเจ็คทีฟ อิมเพรสชั่น (Lowernfeld’s Test Subjective Impression) จำนวน 80 คน ซึ่งมีความสามารถในการรับรู้จาการดูแบบทัศนะกับแบบแฮพติคอย่างละเท่าๆ กัน สุ่มให้ครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถในการรับรู้จาการดูแบบทัศนะกับแบบแฮพติคเข้ารับการทดลองด้วยวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยว และกลุ่มตัวอย่างที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งเข้ารับการทดลองด้วยวิธีเสนอภาพแบบผสม เครื่องมือที่ใช้เป็นสไลด์สีที่ถ่ายในระยะใกล้จากบางส่วนของภาพรวมหรือภาพหลักที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กัน 3 ภาพ กลุ่มตัวอย่างที่รับการทดลองด้วยวิธีเสนอภาพแบบผสมจะดูภาพทั้ง 3 พร้อมๆ กันเป็นเวลา 9 วินาที ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่รับการทดลองด้วยวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยวจะดูภาพทั้ง 3 เรียงตามลำดับกันเป็นเวลาภาพละ 3 วินาที หลังจากนั้นกลุ่มตัวอย่างที่รับการทดลองแต่ละวิธีจะดูภาพของกลุ่มภาพเลือกจำนวน 3 ภาพที่เสนอด้วยวิธีเสนอภาพแบบผสมเป็นเวลา 9 วินาทีแล้วจึงตอบปัญหาว่าภาพในเป็นภาพหลักซึ่งเป็นภาพถ่ายในระยะไกลที่มีรายละเอียดของเนื้อหาจากภาพทั้ง 3 ที่เสนอรวมอยู่การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทางและทดสอบความแตกต่างของคะแนนระหว่างคู่ด้วยวิธีตือกี (เอ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. วิธีเสนอภาพแบบผสมทำให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถในการรับรู้จาการดูแบบทัศนะและแบบแฮพติค สามารถเข้าใจเนื้อหาของภาพได้มากกว่าวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยว 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถในการรับรู้จาการดูแบบทัศนะที่เรียนด้วยวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยวและวิธีเสนอภาพแบบผสม สามารถเข้าใจเนื้อหาของภาพได้มากกว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีความสามารถในการรับรู้จาการดูแบบแฮพติค
dc.description.abstractalternativeThis research studied the perceptive contents ability of the visual perceptual and haptic perceptual types along with the linear image and multiple image technique. There were 80 students from Ayuthayawitayalai School, Ayuthaya Province. The subjects were equally classified by the Lowenfeld’s Test Subjective Impression. The haptic and visual groups randomly divided into subgroups i.e., 20 subjects in each group. The three close up slides presented by linear image and multiple image technique to each group. The exposure time in multiple image technique was nine seconds and in linear image technique was three seconds each. Two groups were treated in the same order. The subjects’s responsed under the two conditions were measured accordingly. And two ways analysis of variance were used. To compare difference within pairs of score was computed by Tukey (a) method. It showed that the multiple image technique gave better response than the linear image technique and the visual perceptual type perceived the critorion slide better than the haptic perceptual type.
dc.format.extent464616 bytes
dc.format.extent849135 bytes
dc.format.extent507566 bytes
dc.format.extent563359 bytes
dc.format.extent366493 bytes
dc.format.extent555289 bytes
dc.format.extent760383 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เรียนด้วยวิธีเสนอภาพแบบเดี่ยวและวิธีเสนอภาพแบบผสมen
dc.title.alternativeA comparison of the perceptual type ability of lower secondary school students between linear image presentation and multiple image presentationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somdech_Tu_front.pdf453.73 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_ch1.pdf829.23 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_ch2.pdf495.67 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_ch3.pdf550.16 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_ch4.pdf357.9 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_ch5.pdf542.27 kBAdobe PDFView/Open
Somdech_Tu_back.pdf742.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.