Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร ช่วงสุวนิช
dc.contributor.authorพนัส วิมุกตายน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-19T06:37:37Z
dc.date.available2012-11-19T06:37:37Z
dc.date.issued2521
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24526
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อประมวลข้อมูลที่เกี่ยวกับการพัฒนาการทางด้านการสอนวิทยาศาสตร์ในด้านหลักสูตรและวิธีสอน 2. เพื่อเปรียบเทียบ ความเป็นมาของการสอนวิทยาศาสตร์ของไทยในอดีตถึงปัจจุบัน 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการสอนวิทยาศาสตร์กับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรวิทยาศาสตร์ วิธีดำเนินการวิจัย การดำเนินการวิจัย ใช้วิธีค้นคว้าจากหนังสือและเอกสารต่าง ๆ เสนอผลการวิจัยเป็นความเรียง ผลการวิจัย การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับประถมและมัธยมศึกษาของไทย ปรากฏครั้งแรกในหลักสูตร พ.ศ. 2438 และได้มีการปรับปรุงเรื่อยมา ทั้งในด้านหลักสูตรและวิธีสอน ระยะเวลาที่ใช้หลักสูตร แต่ละหลักสูตรแตกต่างกันไป หลักสูตร พ.ศ. 2503 ใช้เวลานานที่สุด ในระยะแรกการเรียนการสอนในชั้นต้น ให้เรียนรู้จากของจริงหรือจากภาพเท่าที่ครูจะหามาให้ดูได้ และให้นักเรียนออกความคิดเห็น มีหนังสืออ่านประกอบ และคู่มือครู การสอนเป็นภาษาไทยโดยครูไทย วัดผลการเรียนโดยการสอบปากเปล่า หรือเขียนตอบแบบอัตนัย ในชั้นสูง ๆ สอนโดยครูฝรั่งและสอนเป็นภาษาอังกฤษ วิธีสอนเป็นแบบบรรยาย มีการสาธิตและทดลองบ้าง การเรียนเป็นไปอย่างช้า ๆ เนื่องจากความไม่เข้าใจในเรื่องภาษา การวัดผลจัดโดยครูผู้สอนเอง ข้อสอบและคำตอบเป็นภาษาอังกฤษ ในระยะหลังมีครูไทย และตำราเรียนเป็นภาษาไทย และมีเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของไทยในระดับมัธยมศึกษาที่นับได้ว่า มีการพัฒนามากที่สุด คือเมื่อมีการตั้งสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ[เทคโนโลยี] ซึ่งได้มีการปรับปรุงเป็นโครงงานใหญ่ ทั้งในด้านวิธีสอน ตำราเรียน อุปกรณ์การสอน ฯลฯ และขณะที่ทำการวิจัยนี้ก็ยังมีการปรับปรุงต่อไปเรื่อย ๆ ในการศึกษาด้านความสัมพันธ์ของการสอนวิทยาศาสตร์กับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรวิทยาศาสตร์นั้น พบว่าหลักสูตร พ.ศ. 2503 มีเนื้อหาสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายน้อยที่สุด และหลักสูตรวิทยาศาสตร์ของ สสวท. เนื้อหามีความสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมากที่สุด
dc.description.abstractalternativePurposes 1. To collect data on the development of science teaching with particular emphasis on the contents and methods of instructions. 2. To compare the development of science teaching in the part and the present. 3. To study the relationship of science teaching and objectives of science curriculum. Procedure This was a documentary research collecting pertinent information from books and other relevant literatures published from the past to 2520. Findings Science teaching in Thailand was first included in the curriculum of 2438. Since then gradual improvements have been introduced into their contents and methods of teaching. Although the duration of each curriculum did vary, the curriculum of 2503 was the longest. In the beginning the teaching-learning approach emphasized on learning from real objects or from pictures available at the times. There were also some text books for students to study. Teacher handbooks were presented. The teaching was in Thai and by Thai teachers. Student achievements were measured by oral or written type examinations. But the teaching on higher levels was conducted by foreign teachers using English. [Explanations], demonstration and experiments were the main means of teaching. However, the teaching was rather slow due to language problem. Teachers performed their own examination by using questions and answers in English. Towards the later periods. Thai teachers appeared on the scene and textbooks in Thai were abailable. Science teaching in Thailand at the secondary education level has been improved tremendously since the establishment of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. There has been a vast effort to improve the contents, methods of teaching as well as teaching aids. While this research was conducted, the work at the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology continues. Among the studied curricula the contents of the curriculum of 2503 was the least corresponding to its objective while the content of the curriculum of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology was the most corresponding to its objective.
dc.format.extent512911 bytes
dc.format.extent577122 bytes
dc.format.extent1131019 bytes
dc.format.extent2377716 bytes
dc.format.extent1673362 bytes
dc.format.extent2435536 bytes
dc.format.extent647213 bytes
dc.format.extent4500751 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพัฒนาการของการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeDevelopment of science teching in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panas_Vi_front.pdf500.89 kBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch1.pdf563.6 kBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch2.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch3.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch4.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch5.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_ch6.pdf632.04 kBAdobe PDFView/Open
Panas_Vi_back.pdf4.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.