Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24665
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชัย สิทธิศรัณย์กุล | - |
dc.contributor.advisor | เกศินี บูชาชาติ | - |
dc.contributor.author | ธีระชัย กุศลสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-20T06:08:04Z | - |
dc.date.available | 2012-11-20T06:08:04Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745312207 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24665 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาชนิดตัดขวาง (Cross-sectional descriptive study) นี้ มีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการวินิจฉัยโรคขี้แมว (toxoplasmosis) โดยใช้วิธี Dye Test กับ วิธี IFAT ในกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ณ สถาบันบำราศนราดูร โดยทำการเก็บตัวอย่างเลือดและสอบถาม ข้อมูลต่างๆ จากผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 300 ราย โดยใช้วิธีสุ่มแบบง่าย ณ แผนกผู้ป่วยนอก ระหว่าง วันที่ 4 มกราคม 2548 ถึง 10 มีนาคม 2548 ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่าประชากรตัวอย่าง เป็นเพศชายต่อเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 52.7:47.3 อายุของประชากรส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 20-40 ปีคิดเป็นร้อยละ 70.0 (210/300) อาชีพ ส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 37.0 (111/300) ร้อยละ 78.0 (234/300) ได้รับการวินิจฉัยติด เชื้อไวรัสเอชไอวีนานกว่า 1 ปี การตรวจวินิจฉัยโรคขี้แมวด้วยวิธี Dye Test พบมีอัตราความชุก ร้อยละ 3.7 (11/300) ในขณะที่วิธี IFAT ตรวจพบการติดเชื้อขี้แมวร้อยละ 6.67 (20/300) และจาก การคำนวณเพื่อเปรียบเทียบค่าความไว (Sensitivity) ค่าความจำเพาะ (Specificity) และค่าความ ถูกต้อง (Accuracy) ของวิธี IFATเท่ากับ 63.64%, 95.50% และ 94.33% ตามลำดับ ซึ่งเมื่อนำมา วิเคราะห์ค่าการยอมรับ (Agreement Kappa) พบได้ค่า K=0.42 ซึ่งเป็นค่าการยอมรับที่ระดับพอ ใช้ได้ถึงดี สำหรับการวิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ระหว่างอัตราความชุกของโรคขี้แมวนั้น พบว่ามี ความสัมพันธ์กับจำนวน CD4 T-lymphocyte count ที่น้อยกว่า 200 /cu.mm. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.026) ในขณะปัจจัยอื่น เช่น ปัจจัยพื้นฐาน ปัจจัยด้านสุขภาพ หรือปัจจัยเสี่ยงที่อาจ เป็นสาเหตุของการติดเชื้อขี้แมว เช่น การสัมผัสคลุกคลีกับแมว การบริโภคเนื้อสัตว์สุกๆ ดิบๆ นั้น ล้วนแต่ไม่มีความสัมพันธ์กับอัตราความชุกของโรคขี้แมว (p>0.05) จากการวิจัยพบว่าวิธี IFAT มีประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคขี้แมว โดยเฉพาะการวินิจฉัยว่า ผู้ป่วยไม่ติดเชื้อ จากกลุ่มที่ไม่เป็นโรคได้ดี เนื่องจากมีค่าความจำเพาะสูง สำหรับการศึกษาวิจัยในครั้งต่อไปการศึกษากลุ่มผู้ป่วยที่มีจำนวน CD4 T-lymphocyte count ที่ต่างกัน และการศึกษาแบบไปข้างหน้า น่าจะเป็นประโยชน์ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this cross-sectional descriptive study was to compare Toxoplasmosis diagnosis by Dye Test and IFAT in AIDS’ Patients at Bamrasnaradura Institute. The serum and demographic data were collected form 300 patients by simple random sampling at OPD during January 4th 2005 to March 10th 2005. The study found that the proportion of gender male: female was 52.7:47.3. The majority of age ranged between 20-40 years old (70.0% or 210/300) and the most common occupation was labourer (37% or 111/300). The prevalence of toxoplasmosis by Dye test and IFAT in this group were 3.7% (11/300) and 6.67% (20/300), respectively. The calculation for sensitivity, specificity and accuracy of IFAT were 63.64%, 95.50% and 94.33%, respectively. The analysis of agreement kappa was 0.42 compared with the standard diagnosis (Dye test). The interpretation of agreement kappa for IFAT was fair to good agreement beyond chance. The association between seroprevalence of toxoplasmosis and CD4 T-lymphocyte count less than 200 /cu.mm was statistically significant (p=0.026). Other factors such as duration of HIV infection, antiviral drugs prophylaxis and risk factors of toxoplasma gondii infection such as keeping cat as pet, eating undercooked meat, were not associated with seroprevalence of toxoplasmosis. The conclusion was that IFAT was useful for exclusion of patients without toxoplasmosis because of its high specificity. However, further studies with various CD4 T-lymphocyte levels and longitudinal studies are needed. | - |
dc.format.extent | 4783758 bytes | - |
dc.format.extent | 2905325 bytes | - |
dc.format.extent | 14721232 bytes | - |
dc.format.extent | 3048747 bytes | - |
dc.format.extent | 6889583 bytes | - |
dc.format.extent | 5165557 bytes | - |
dc.format.extent | 14654866 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบการวินิจฉัยโรคขี้แมว โดยวิธี Sabin-Feldman Dye Test กับวิธี Indirect FluorescentAntibody Test ในกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ณ สถาบันบำราศนราดูร | en |
dc.title.alternative | Comparison of toxoplasmosis diagnosis by sabin-feldman dye test and indirect fluorescent antibody test in aids' patients at bamrasnaradura institute | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เวชศาสตร์ชุมชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Teerachai_ku_front.pdf | 4.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_ch1.pdf | 2.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_ch2.pdf | 14.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_ch3.pdf | 2.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_ch4.pdf | 6.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_ch5.pdf | 5.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Teerachai_ku_back.pdf | 14.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.