Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวดี วิบูลย์ศรี
dc.contributor.authorนีนา พานสมบัติ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-20T07:43:22Z
dc.date.available2012-11-20T07:43:22Z
dc.date.issued2528
dc.identifier.isbn9745645532
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24703
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแม่นตรงของการประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนโดยครูโรงเรียนประถมศึกษาที่มีทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียนต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 15 คน และนักเรียนระดับชั้นประถมปีที่ 6 ที่สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 360 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย มาตรวัดทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียน มาตราส่วนประมาณค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์และแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าความแม่นตรงในการประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ด้วยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของนักเรียนที่ได้จากการประเมินค่าพฤติกรรมโดยครูกับคะแนนของนักเรียนที่ได้จากแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้สูตรของเพียร์สัน และทดสอบความแตกต่างของความแม่นตรงในการประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ในรูปคะแนนพีชเชอร์-ซี โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว แล้วเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของทูกี (Tukey) ข้อค้นพบ 1. การประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนโดยครูที่มีทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียนในระดับสูง มีความแม่นตรงสูงกว่าการประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนโดยครูที่มีทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียนในระดับปานกลางและระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. การประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนโดยครูที่มีทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียนในระดับปานกลาง และในระดับต่ำมีความแม่นตรงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the accuracy of rating student achievement behaviors of elementary school teachers having different attitudes toward measuring and evaluating student learning outcomes. The samples were 15 sixth grade mathematics teachers and 360 sixth grade students under the Bangkok Metropolitan Educational Authority. The instruments [included] Attitude toward Measuring and Evaluating Learning Outcomes Scales, Achievement Behavioral Rating Scales and mathematics achievement test. The accuracy of rating student achievement behaviors was computed by means of Pearson product-moment correlation. One-way analysis of variance was used for testing the difference of the accuracy of rating and the Tukey test was used in posteriori comparisons. The results of study were; 1. The rating of student achievement behaviors of the teachers having high attitude toward measuring and evaluating student learning outcomes was significantly more accurate than that of the moderate and the low attitude teachers at a .01 level. 2. The accuracy of the rating of student achievement behaviors of the teachers having moderate attitude toward measuring and evaluating student learning outcomes was not significantly different than that of the rating of the low attitude teachers at a .05 level.
dc.format.extent486968 bytes
dc.format.extent496990 bytes
dc.format.extent1126985 bytes
dc.format.extent737108 bytes
dc.format.extent409505 bytes
dc.format.extent381924 bytes
dc.format.extent1081351 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความแม่นตรงในการประเมินค่าพฤติกรรมใฝ่สัมฤทธิ์ ของครูโรงเรียนประถมศึกษาที่มีทัศนคติต่อการวัดและประเมินผลการเรียนต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of accuracy of rating achievement behavior of elementary school teachers with different attitudes toward measurement and evaluation of learning outcomesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Neena_Pa_front.pdf475.55 kBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_ch1.pdf485.34 kBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_ch2.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_ch3.pdf719.83 kBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_ch4.pdf399.91 kBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_ch5.pdf372.97 kBAdobe PDFView/Open
Neena_Pa_back.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.