Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนันต์ อัตชู
dc.contributor.authorนิลมณี ศรีบุญ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-20T07:57:10Z
dc.date.available2012-11-20T07:57:10Z
dc.date.issued2524
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24710
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความทนทานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาที่ได้จากผลของการฝึกแบบการให้ความต้านทานสูงโดยใช้จำนวนครั้งน้อยกับการฝึกแบบการให้ความต้านทานต่ำโดยใช้จำนวนครั้งมาก กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชาย ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่มีสภาพร่างกายสมบูรณ์ อายุระหว่าง 15-20 ปี จำนวน 30 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างประชากรเป็น 3 กลุ่มเท่า ๆ กัน โดยให้แต่ละกลุ่มมีค่าเฉบี่ยของความทนทาน และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ก่อนฝึกเท่ากัน นำผลจากการทดสอบความทนทานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาทั้ง 3 กลุ่มซึ่งทำการทดสอบก่อน และหลังฝึกสัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 มาหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงกราฟ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และวิเคราะห์รายคู่แบบดันแคน ผลการวิจัยปรากฏว่า การฝึกแบบการให้ความต้านทานสูงโดยใช้จำนวนครั้งน้อย และการฝึกแบบการให้ความต้านทานต่ำโดยใช้จำนวนครั้งมาก ให้ผลต่อการเพิ่มระดับความทนทานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา จากผลของการฝึกแบบการให้ความต้านทานสูง โดยใช้จำนวนครั้งน้อยกับการฝึกแบบการให้ความต้านทานต่ำโดยใช้จำนวนครั้งมาก หลังทำการฝึกสิ้นสุดลงไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare Legs Muscular Endurance and Strength Between the Effects of High Resistance with Low Repetition and Low Resistance with High Repetition Training. Thirty healthy male pupils between 15-20 years of age from Mathayomsuksa 4 and 5, Triamudom-suksa school were randomly selected as the samples. Prior to the experiments, the samples were divided into three groups of equal means of legs muscular endurance and strength. The One-way analysis of variance and Duncan’s new multiple range test showed that the effects of high resistance with low repetition and low resistance with high repetition training after training in 12th week were no significantly different at the .01 level (p>.01
dc.format.extent513744 bytes
dc.format.extent555319 bytes
dc.format.extent860283 bytes
dc.format.extent374108 bytes
dc.format.extent765223 bytes
dc.format.extent566125 bytes
dc.format.extent446512 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความทนทานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาที่ได้จากผลของการฝึกแบบการให้ความต้านทานสูง โดยใช้จำนวนครั้งน้อยกับการฝึกแบบการให้ความต้านทานต่ำ โดยใช้จำนวนครั้งมากen
dc.title.alternativeA comparison of legs muscular endurance and strength between the effects of high resistance with low repetition and low resistance with high repetition trainingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nilmanee_Sr_front.pdf501.7 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_ch1.pdf542.3 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_ch2.pdf840.12 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_ch3.pdf365.34 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_ch4.pdf747.29 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_ch5.pdf552.86 kBAdobe PDFView/Open
Nilmanee_Sr_back.pdf436.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.