Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานิจ ทองประเสริฐ
dc.contributor.advisorสมศรี จงรุ่งเรือง
dc.contributor.authorนิมิตร บัวเล็ก
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-20T08:33:51Z
dc.date.available2012-11-20T08:33:51Z
dc.date.issued2526
dc.identifier.isbn9745626252
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24725
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ ได้ศึกษาถึงการนำพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้เสริมพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ในขบวนการอบกล้วย ประกอบด้วยการออกแบบแผงรับแสงอาทิตย์ และการปรับปรุงรูปแบบ และลักษณะการทำงานของตู้อบไฟฟ้าที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงขึ้น ตลอดจนได้สร้างเครื่องอบกล้วยโดยใช้พลังงานไฟฟ้าควบพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดจำลอง โดยบรรจุกล้วยได้ 200 ผล เพื่อทำการทดสอบ ผลการทดลองที่ได้จากเครื่องอบกล้วยขนาดจำลองนั้น เมื่อใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ขยายเป็นแบบจริง โดยอบกล้วยได้ครั้งละ 7000 ผล พบว่า จะต้องใช้พื้นที่ของแผงรับแสงอาทิตย์ 24 ตารางเมตร ส่วนเวลาที่ใช้ในการอบกล้วยครั้งแรกก่อนทุบแบน จะใช้เวลาทั้งสิ้น 7 ชั่วโมง แต่ถ้าใช้ตู้อบไฟฟ้าจะต้องใช้เวลาถึง 18 ชม. เมื่อทุบแบนจะหมักกล้วยเรียบร้อยแล้ว นำกล้วยมาอบอีกครั้งจะใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 19 ชั่วโมง 30 นาที แต่ถ้าอบโดยตู้อบไฟฟ้าจะใช้เวลาถึง 31 ชั่วโมง ดังนั้นเวลาที่ใช้อบกล้วย โดยใช้เครื่องอบกล้วยพลังงานไฟฟ้าควบพลังงานแสงอาทิตย์ จะน้อยกว่าเวลาที่ใช้อบโดยใช้ตู้อบไฟฟ้าถึง 22 ชั่วโมง 30 นาที อัตราการไหลของอากาศร้อนซึ่งมีอุณหภูมิ 50 ̊̊C ภายในเครื่องอบกล้วยพลังงานไฟฟ้าควบพลังงานแสงอาทิตย์นั้น ในการอบครั้งแรกจะใช้ประมาณ 68.8 ลบ.เมตรต่อนาที และอัตราการปล่อยให้อากาศออกจากเครื่องอบจะมีค่าประมาณ 20% ของอากาศที่หมุนเวียนภายในตู้อบ หรือเท่ากับ 13.76 ลบ.เมตรต่อนาที การอบครั้งที่สองจำเป็นต้องลดอัตราการไหลของอากาศร้อน เพื่อที่จะลดอัตราการระเหยของน้ำในเนื้อกล้วยให้น้อยลง เพราะถ้าไม่ลดอัตราการระเหย กล้วยที่ได้จะมีผิวแห้งกร้าน ดังนั้น ในการอบครั้งที่สองนี้ จึงลดอัตราการไหลของอากาศร้อนลงเหลือ 50.4 ลบ.เมตรต่อนาที และอัตราการปล่อยอากาศออกจากเครื่องอบจะลดลงเหลือ 10% ของอากาศที่หมุนเวียนภายในเครื่องอบ หรือมีค่าเท่ากับ 5.04 ลบ.เมตรต่อนาที ผลการเปรียบเทียบเชิงเศรษฐศาสตร์พบว่า ถ้าอบกล้วยโดยใช้เครื่องอบกล้วยพลังงานไฟฟ้าควบแสงอาทิตย์จะเสียค่าใช้จ่ายผลละ 0.489 บาท แต่ถ้าอบโดยใช้ตู้อบไฟฟ้าจะเสียค่าใช้จ่ายผลละ 0.641 บาท เมื่อกำหนดอายุการใช้งานของเครื่องอบทั้งสองแบบ เท่ากับ 10 ปี ถ้าลงทุนโดยการใช้เครื่องอบกล้วยพลังงานไฟฟ้าควบพลังงานแสงอาทิตย์นี้อบกล้วยแล้ว จะคุ้มทุนภายในเวลา 1 ปี
dc.description.abstractalternativeThis Thesis described a study of a solar energy as suplimentary energy in the banana drying process. This included the designing of a flat plate collector and development of an electric banana dryer. The electric-solar banana dryer which contains 200 pieces of banana was set up in this experiment. Experimental results indicated when the scale was expanded to contains banana up to 7000 pieces. This dryer required the area of a flat plate collector about 24 square meters and the time for first drying was about 7 hours. When pressed and fermented this bananas about 16 hours. The second drying time was required about 19 hours. If used the electric banana dryer the time for first drying required about 18 hours and second drying required about 31 hours. For an electric-solar banana dryer, the drying air flowrate infirst-drying was 68.8 cubic meters per minute and the exhausted air was 20% of drying air flowrate. In second drying the air flowrate was 50.4 cubic meters per minute and the exhausted air was 10% of drying air flowrate. An economic evaluation indicated that the drying cost of the electric-solar banana dryer was 0.489 baht per piece of banana and the drying cost of the electric banana dryer was 0.641 baht per piece of banana. If the useful of this dryer is 10 years. If the investor has been invested the electric-solar banana dryer, the break-even point of this dryer is about 1 year.
dc.format.extent471404 bytes
dc.format.extent477402 bytes
dc.format.extent308206 bytes
dc.format.extent891763 bytes
dc.format.extent1761976 bytes
dc.format.extent562124 bytes
dc.format.extent352793 bytes
dc.format.extent782993 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleเครื่องอบกล้วยโดยใช้พลังงานไฟฟ้าควบแสงอาทิตย์en
dc.title.alternativeAn electric - solar banana dryeren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nimit_Bu_front.pdf460.36 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch1.pdf466.21 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch2.pdf300.98 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch3.pdf870.86 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch4.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch5.pdf548.95 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_ch6.pdf344.52 kBAdobe PDFView/Open
Nimit_Bu_back.pdf764.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.