Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริด ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorวรรณา ศรีชวนชื่นสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-21T02:52:56Z-
dc.date.available2012-11-21T02:52:56Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745647942-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24827-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractได้ทดลองผลิตเม็ดเชื้อเพลิงยูเรเนียม ไดออกไซต์ โดยใช้กระบวนการผลิต ผ่านสารประกอบแอมโมเนีย ยูเรนิล คาร์บอเนต พบว่าเงื่อนไขที่ดีที่สุดในการเตรียมตะกอนแอมโมเนีย ยูเรนิล คาร์บอเนต คือ ใช้สารละลายยูเรนิล ไนเตรตเข้มข้น 200 กรัม ต่อลิตร ทำปฏิกิริยากับสารละลายผสมของสารละลายแอมโมเนียเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการใช้ที่พอดีทำให้สารละลายยูเรนิล ไนเตรต มีความเป็นกรดด่าง เท่ากับ 7.0 และสารละลายแอมโมเนีย คาร์บอเนตเข้มข้น 25 เปอร์เซ็นต์ ที่อัตราส่วนจำนวนโมล ของคาร์บอนและยูเรเนียมเท่ากับ 7.5 ควบคุมการทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ตะกอนที่ได้อบให้แห้งที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ผงยูเรเนียม ไดออกไซด์ ที่ได้นำมาอัดเป็นเม็ดตรง ไม่ต้องมีตัวประสาน แล้วเผาประสานด้วยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์ ที่อุณหภูมิ 1100 องศาเซลเซียส เป็นเสลา 1 ชั่วโมง และรีดิวซ์ต่อเพื่อให้เป็น UO2 ด้วยก๊าซไฮโดรเจน ที่อุณหภูมิ 1100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เม็ดยูเรเนียม ไดอออกไซด์ ที่ได้มีความหนาแน่นมากกว่า 91 เปอร์เซ็นต์ ของค่าทฤษฏี และมีค่าอัตราส่วนจำนวนโมล ของออกซิเจน และยูเรเนียม เท่ากับ 2.02-
dc.description.abstractalternativeA production process for uranium dioxide fuel pellets via ammonium uranyl carbonate was developed. The optimum conditions to produce ammonium uranyl carbonate precipitateswerefound to be : 200 g/1 uranyl nitrate solution , the amount required for neutralization of the uranyl nitrate solution to pH 7.0 and 25% ammonium carbonate solution , C/U ratio of 7.5 , 40° C. The precipitatesweredried at 80°C , calcined and reduced to uo2 powder at 550° C in hydrogen atmosphere which was subsequently pressed to pellets without binder. Sintering and reduction was done at 1100° C , 1 hour each in C02 and H2 atmosphere respectively. The final uo2 pellets have density of more than 91% theoretical density and 0/U ratio of 2.02-
dc.format.extent3643191 bytes-
dc.format.extent764191 bytes-
dc.format.extent6858518 bytes-
dc.format.extent6785596 bytes-
dc.format.extent3230044 bytes-
dc.format.extent20653179 bytes-
dc.format.extent1652381 bytes-
dc.format.extent5327614 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตเม็ดเชื้อเพลิงยูเรเนียม ไดออกไซด์ โดยผ่านแอมโมเนียม ยูเรนิล คาร์บอเนตen
dc.title.alternativeDevelopment of a production process for uranium dioxide fuel pellets via ammonium uranyl carbonateen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanna_sri_front.pdf3.56 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch1.pdf746.28 kBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch2.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch3.pdf6.63 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch4.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch5.pdf20.17 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_ch6.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Wanna_sri_back.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.