Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.advisorโชคชัย ยะชูศรี-
dc.contributor.authorบัณฑิต ศิริธนารัตนกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-21T06:56:30Z-
dc.date.available2012-11-21T06:56:30Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745311375-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24919-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาประสิทธิภาพในการดูดกลืนเสียงของแผ่นวัสดุที่ทำขึ้นจากผงยางรถยนต์ใช้แล้ว ผสมกับปูนซีเมนต์และทราย โดยมุ่งเน้นศึกษาความหนา อัตราส่วนผสม และขนาดของผงยางที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุด ในการดูดกลืนเสียง การศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วน ในส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาประสิทธิภาพในการดูดกลืนเสียง ของแผ่นวัสดุเมื่อผสมวัสดุ ปูนซีเมนต์ ทราย ผงยางรถยนต์และน้ำรวมเข้าด้วยกัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงความหนา อัตราส่วนผสมและขนาดของผงยางรทยนต์ที่ผสมเป็นแผ่นวัสดุตัวอย่างไปตามที่กำหนด ตรวจวัด ค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงของแผ่นวัสดุตัวอย่างด้วยเครื่องมือ Standing wave apparatus ที่ประยุกต์ สร้างขึ้นตามมาตรฐาน ASTM C384-98 จากผลการตรวจวัดพบว่า ปัจจัยอัตราส่วนผสมและขนาดของผงยาง รถยนต์มีผลต่อค่าล้มประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ส่วนตัว แปรความหนาไม่พบว่ามีความสัมพันธ์ต่อค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงของแผ่นตัวอย่าง จากการทดลอง พบว่าอัตราส่วนที่มีค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงรวมมากที่สุดของแผ่นตัวอย่างที่ใช้ผงยางทั้งสามขนาด คือผง ยางขนาดเล็ก กลางและใหญ่ เท่ากับ 5:10:4 มีค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงเฉลี่ยระหว่าง 0.24-0.27 และมี ค่า Specific acoustic impedance ระหว่าง 7360.06 -8748.01 mks rayl เนื่องจากเมื่อพิจารณาแยกย่อยใน แต่ละความถี่แล้วพบว่าอัตราส่วน 5:10:4 ให้ผลการดูดกลืนเสียงได้ดีที่สุด ในช่วงความถี่สูงระหว่าง 2000-4000 Hz. ซึ่งถือเป็นจุดเด่นของวัสดุที่สร้างขึ้น ในส่วนที่ 2 เป็นการทดสอบประสิทธิภาพในการดูดกลืนเสียงของ แผ่นวัสดุเมื่อจัดให้มีการเรียงตัวของชั้นผงยางแยกจากซีเมนต์เพสต์ออกเป็นชั้นต่างๆ โดยใช้ผงยางขนาดใหญ่ ในการผสม พบว่าเมื่อจัดเรียงผงยางรถยนต์ที่ผิวหน้า 1 ด้านหลัง 1 ที่กึ่งกลาง และที่ผิวหน้าและด้านหลังของ แผ่นวัสดุพบว่าได้ค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงรวมเท่ากับ 0.23 1 0.24 1 0.25 และ 0.26 ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThe efficiency of the sound absorbing materials made from Portland cement 1 sand and used tyre crumb rubber had been studied. The experimental conditions emphasized on the effect of thickness, ratio and grain size of crumb rubber on sound absorption coefficient. The study was divided into two parts. Part1 : Study an efficiency of the sound absorbing materials, the mixture of Portland cement, sand, crumb rubber and fresh water. The specimens with different in thickness and ratio and grain size of crumb rubber were tested to determine their acoustic properties. The sound absorption coefficients were measured by the standing wave apparatus which was followed the ASTM C384-98 standard method. The results showed that the composition ratio and grain size of crumb rubber had affected to the sound absorption coefficient with statistical significant at 95% confident. Thickness factor did not show any relation to sound absorption coefficient. The most efficiency ratio of the specimens contained small, medium and large grain size crumb rubber were 5:10:4. The average absorption coefficient were 0.24-0.27. The specific acoustic impedances were 7360.06 -8748.01. Ratio composition 5:10:4 showed the highest dominated sound absorption in high frequency range between 2000-4000 Hz. Part 2 was a study on the efficiency of the sound absorbing specimens when large grain size crumb rubber were laid separately from the cement paste. The laid crumb rubber on the surface 1 back , middle and both surface and back of the specimens had the average absorption coefficients were 0.23 1 0.24 1 0.25 and 0.26 respectively.-
dc.format.extent3586827 bytes-
dc.format.extent1304885 bytes-
dc.format.extent5552204 bytes-
dc.format.extent6459323 bytes-
dc.format.extent5562903 bytes-
dc.format.extent1182724 bytes-
dc.format.extent15759567 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleวัสดุดูดกลืนเสียงจากผงยางรถยนต์ใช้แล้วผสมปูนซีเมนต์en
dc.title.alternativeSound absorbing material from used tyre crumb rubber mixed with cementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bungon_ko_front.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_ch1.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_ch2.pdf5.42 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_ch3.pdf6.31 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_ch4.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_ch5.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Bungon_ko_back.pdf15.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.