Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวิวรรณ นิวาตพันธุ์-
dc.contributor.advisorนิจศรี ชาญณรงค์-
dc.contributor.authorวราภรณ์ จิธานนท์, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-14T11:20:57Z-
dc.date.available2006-09-14T11:20:57Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745317756-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ การวิจัยเป็นลักษณะการวิจัยเชิงพรรณา ณ จุดช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 110 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พาผู้ป่วยมารับบริการตรวจรักษา แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกอายุรกรรมเฉพาะโรค โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. แบบสอบถามทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง 2. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 3. แบบประเมินระดับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (Barthel ADL Index) 4. แบบประเมินสุขภาพจิต MHI (Mental Health Inventory) สถิติที่ใช้คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test, One-way ANOVA, LDS และ Multiple Linear Regression Analysis ด้วยเทคนิค Enter ผลการวิเคราะห์พบว่า ภาวะสุขภาพจิตของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สุขภาพจิตดี จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 คน และสุขภาพจิตไม่ดี จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 49.1 ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.01 ได้แก่ ระดับการศึกษา, รายได้ก่อนและหลังการเจ็บป่วย, รายได้รวมของครอบครัว, จำนวนชั่วโมงการดูแลผู้ป่วยในแต่ละวัน, การมีผู้ช่วยเหลือในการดูแลผู้ป่วย, ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย, การได้รับคำแนะนำความช่วยเหลือจากบุคคลในครอบครัวและที่ระดับ p<0.05 ได้แก่ อายุ, อาชีพ, ระยะเวลาการเจ็บป่วย, ภาระการดูแล และเมื่อทำการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคุณ พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิต มี 5 ตัวแปร ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา การมีผู้ช่วยเหลือในการดูแลผู้ป่วย การได้รับคำแนะนำความช่วยเหลือจากบุคคลในครอบครัว และระยะเวลาการเจ็บป่วยของผู้ป่วย โดยปัจจัยทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายภาวะสุขภาพจิตได้ร้อยละ 31.5en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to examine mental health and associated factors in caregivers of stroke patients at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The study was cross-sectional and descriptive study. The sample was 110 caregivers of stroke patients at Neurology clinic. Medical Outpatient Department of King Chulalongkorn Memorial Hospital. The instruments were general demographic data of caregivers and stroke patients, Barthel ADL Index. Mental Health Inventory by Veit and Ware 1983 (MHI). All data were analyzed by SPSS for windows. Statistics utilized consists of mean, percentage, standard deviation, maximum, minimum, t-test, One-way ANOVA, LSD method, Multiple Linear Regression Anslysis. The major findings were as following: Mental health in caregivers of stroke patients were psychological well being 50.9% and psychological distress 49.1%. T-test and One way ANOVA indicated that factors significantly associated with mental health were education, income before and after illness, total family income, hour of care, secondary caregivers, relationship, social support (p<0.01) age, occupational, duration of illness, burden (p<0.05). From Multiple Linear Regression Analysis, it was found that age, education, secondary caregivers, social support and duration of illness could explain the mental health of the subjects with a predictive value of 31.5 percent (R[subscript 2] = 0.315)en
dc.format.extent995271 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหลอดเลือดสมอง--โรค--ผู้ป่วยen
dc.subjectผู้ดูแล--สุขภาพจิตen
dc.titleสุขภาพจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeMental health and associated factors of caregivers in stroke patients at King Chulalongkorn Memorial Hospitalen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRaviwan.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Varaporn.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.