Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิสุทธ์ บุษยกุล | - |
dc.contributor.author | บุบผา เต็งสุวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-21T08:38:14Z | - |
dc.date.available | 2012-11-21T08:38:14Z | - |
dc.date.issued | 2521 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25009 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษารวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับบัวในวรรณคดีบาลีและสันสกฤต ชี้ให้เห็นแนวความคิดของอรรถกถาจารย์ฝ่ายบาลี และกวีฝ่ายสันสกฤตที่ได้ใช้บัวเป็นสัญญลักขณ์ต่างๆ อันได้แก่ สัญญลักขณ์แห่งความงาม ความดี และความบริสุทธิ์ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงแนวความคิดเกี่ยวกับบัวในเรื่องอื่นๆ เช่น การใช้บัวไปประกอบเนื้อเรื่องในชาดก หรือการใช้บัวไปประกอบเนื้อเรื่องในบทละครสันสกฤต เป็นต้น อีกประการหนึ่ง วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ยังชี้ให้เห็นความแตกต่างของการแบ่งประเภทและธรรมชาติของบัว ตามวิธีของนักพฤกษศาสตร์และตามแนวความคิดของกวี และยังได้รวบรวมศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อบัวทั้งที่เป็นภาษาบาลี สันสกฤต และที่ไทยนำมาใช้ โดยนำมาเป็นภาคผนวกอีกด้วย ในการศึกษาเรื่องราวดังกล่าว ผู้วิจัยได้ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบัวที่มีอยู่ในวรรณคดีบาลี มีพระไตรปิฏก ชาตกัฏฐกถา พระธัมมปทัฏฐกถา อรรถกถาอื่นๆ และในส่วนที่เป็นวรรณคดีสันสกฤต ผู้วิจัยได้ใช้คัมภีร์ฤคเวท คัมภีร์ปุราณะ มหาภารตะ รามายณะและบทละครสันสกฤต เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้อาศัยตำราต่างๆที่นักปราชญ์สมัยใหม่ได้ค้นคว้ารวบรวมไว้ เพื่อประกอบการวิจัยด้วย วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ แบ่งออกเป็น 5 บท บทแรก เป็นบทนำ เป็นข้อความทั่วไปกล่าวถึงลักษณะของปัญหา วิธีการ และขอบเขตของการวิจัย บทที่ 2 กล่าวถึงประเภทและธรรมชาติของบัว ตามแนวพฤกษศาสตร์และแนวความคิดของกวี บทที่ 3 กล่าวถึงบัวในวรรณคดีสันสกฤต ที่เป็นสัญลักขณ์แห่งความงาม และความดีงามประเภทต่างๆ ตลอดจนการนำเอาบัวมาเป็นส่วนประกอบกับเค้าโครงเรื่องในบทละครสันสกฤตด้วย บทที่ 4 กล่าวถึงบัวในวรรณคดีบาลีที่เป็นสัญญลักขณ์แห่งความบริสุทธิ์และความดีงามทั้งทางโลกและทางธรรม นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงเรื่องสระโบกขรณี และความสวยงามของสระโบกขรณีอีกด้วย ในบทสุดท้าย ผู้วิจัยได้สรุปให้เห็นความแตกต่างในแนวความคิดเกี่ยวกับบัวที่มีปรากฏในวรรณคดีบาลีและสันสกฤต และได้ให้แนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่เกี่ยวกับเรื่องบัวนี้ต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the present thesis is to conduct a systematic study on the lotuses in Pali and Sanskrit literatures, to point out the ideas concerning lotuses as conceived by Indian poets and Pali writers. In addition, this thesis aims at the description of the nature of the lotuses as seen by the modern botanists on the one hand and by the poets on the other. A list giving Pali and Sanskrit terms for lotuses with Thai adaptations of those terms is given at the end of the main work as an appendix. The researcher started her study with the collection of data on lotuses from Pali and Sanskrit literatures, such as the Tripitaka, the Jatakas, the Dhammapadaṭṭhakathā, the Rigveda the Purāṇas, the Mahābhārata, the Rāmāyaṇa and others such as Sanskrit drama. Works by modern scholars on lotuses were also consulted. These data were then assorted, classified and rearranged according to The thesis is devided into 5 chapters. The first chapter is and introduction, giving a general remark on the nature of the problem, the method and the scope of the research. The second chapter deals with the classication and the nature of lotuses according to botanists in contrast with those described by poets. Chapter three describes the lotuses in Sanskrit literature as the symbol of beauty and other virtues. It also mentions the employment of lotuses in the plot of Sanskrit plays. Chapter four describes the lotuses in Pali literature as a symbol of purity and of virtue, both temporal and spiritual. It also gives a short description of lotus ponds in the Pali literature. The researcher concludes her study in the last chapter in which the differences of ideas on lotuses in the Pali and Sanskrit literatures are summarized. Suggestions for further research are also given. | - |
dc.format.extent | 429824 bytes | - |
dc.format.extent | 282632 bytes | - |
dc.format.extent | 724477 bytes | - |
dc.format.extent | 1172085 bytes | - |
dc.format.extent | 1938456 bytes | - |
dc.format.extent | 338379 bytes | - |
dc.format.extent | 1252689 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | บัวในวรรณคดีบาลีและสันสกฤต | en |
dc.title.alternative | The lotus in the pali and sanskrit literatures | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ภาษาตะวันออก | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Boobpha_Te_front.pdf | 419.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_ch1.pdf | 276.01 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_ch2.pdf | 707.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_ch3.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_ch4.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_ch5.pdf | 330.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boobpha_Te_back.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.