Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจามรี อาระยานิมิตสกุล-
dc.contributor.advisorรณฤทธิ์ ธนโกเศศ-
dc.contributor.authorวิศรุต เนาวสุวรรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-22T01:54:48Z-
dc.date.available2012-11-22T01:54:48Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741753845-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25082-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractเมืองลพบุรีเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานหลายยุคสมัยอีกทั้งเป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่เป็นที่ตั้งของโบราณสถานสำคัญ ทั้งยังเป็นเมืองที่มีวิถีชีวิตชุมชน วัฒนธรรมและประเพณีของชาวเมืองลพบุรีอยู่อย่างชัดเจน ปัจจุบันเมืองประวัติศาสตร์ลพบุรีได้เจริญเติบโตเป็นเมืองสำคัญทางเศรษฐกิจของภูมิภาคการเจริญเติบโตนี้เองกลับสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับลักษณะภูมิทัศน์เมืองและภูมิทัศน์โบราณสถาน การศึกษานี้เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์ลพบุรีเพื่อให้นำไปปรับใช้กับเมืองประวัติศาสตร์อื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันภายใต้แนวความคิดในการอนุรักษ์โบราณสถานควบคู่ไปกับการพิจารณาชุมชนที่อาศัยอยู่ดั้งเดิม รวมทั้งเป็นการศึกษาแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์ แนวคิดการใช้ประโยชน์จากพื้นที่โบราณสถานเพื่อกิจกรรมเมือง กิจกรรมพักผ่อนของคนในชุมชน แนวคิดการจัดระบบพื้นที่เปิดโล่งของเมือง (Open Space System) แนวคิดการอยู่ร่วมกันระหว่างชุมชนปัจจุบันและพื้นที่โบราณสถาน และแนวคิดการจัดการภูมิทัศน์เมืองเพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้น จากการศึกษาพบว่าเมืองประวัติศาสตร์ลพบุรี เป็นเมืองที่มีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนแทรกตัวอยู่ตามส่วนต่างๆ ของเมืองโดยมีอาคารโบราณสถานเป็นจุดศูนย์กลางชุมชน การศึกษานี้ได้เสนอแนวทางในการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองในรูปแบบเมืองแห่งความสมดุลระหว่างความเป็นเมืองประวัติศาสตร์และเมืองปัจจุบัน (Balancing City) โดยเสนอแนวคิดในการปรับปรุงภูมิทัศน์เป็นสองแนวทาง ในแนวทางแรกเป็นแนวทางในการปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแนวคิดการอยู่ร่วมกันชุมชนดั้งเดิมและพื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง การอณุรักษ์พื้นที่โบราณสถานที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนให้น้อยที่สุดโดยแนวทางแรกนี้ เป็นแนวทางปรับปรุงที่สามารถทำได้ในระยะแรก และแนวทางที่สองเป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่ประวัติศาสตร์เป็นเขตสงวนรักษา ควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบพื้นที่ประวัติศาสตร์ และย้ายชุมชนที่ตั้งรุกล้ำโบราณสถานออกไปเพื่อปรับปรุงเป็นพื้นที่เปิดโล่งของเมืองซึ่งเป็นแนวคิดในระยะยาวหรือระยะที่สองต่อจากแนวคิดแรก-
dc.description.abstractalternativeThe remains of ancient constructions, archaeological sites as well as its unique arts, culture and community's way of life evidently seen in historical city of Lopburi. Lopburi has possessed a prolonged history but nowadays the Historic city of Lopburi has become the important city for the central region's economy, which somewhat destroys the perspectives of its city's landscape and ancient sites. This thesis is to study for guidelines for landscape improvement for Historic City of Lopburi in order to be adapted with other historic cities, which contain the similar characteristic, and based on the concept of parallelism between the ancient sites protection and the community dwellers existence. Furthermore the theory of historic city's landscape improvement, the utilization in historic site for community's activities, recreations and history study, the study of open space system as well as the co¬existence between current local community and the historic sites. Also the landscape management to serve for prospective tourism industry have been experimented. Historic City of Lopburi is the city where inhabitants build their houses expansively and the ancient sites are the center of their community. This thesis is to propose the guidelines of city's landscape improvement in the concept of Balancing City, which will reverse the current areas into open space and adjust its perspective and landscape to serve for tourism. There are two alternatives for landscape improvement the first concept is balancing the current local community and the existing historic sites, conserving these ancient legacy with least impact to the community this alternative can be implemented in the first phase, The second concept is the idea of conservation area zoning, controlling the land utilization around the ancient site and nearby areas and converting the trespassing local community into the city's open space. The second alternative also can be considered as a second phase or in a long-term project-
dc.format.extent4146139 bytes-
dc.format.extent2512742 bytes-
dc.format.extent15905575 bytes-
dc.format.extent19984791 bytes-
dc.format.extent11772955 bytes-
dc.format.extent34523562 bytes-
dc.format.extent1796026 bytes-
dc.format.extent1393053 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์ลพบุรีen
dc.title.alternativeGuidelines for landscape improvement for historic city of Lopburien
dc.typeThesises
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wisarut_no_front.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch1.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch2.pdf15.53 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch3.pdf19.52 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch4.pdf11.5 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch5.pdf33.71 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_ch6.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Wisarut_no_back.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.