Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25248
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สงัด อุทรานันท์ | |
dc.contributor.advisor | สนามจิตร สุคนธทรัพย์ | |
dc.contributor.author | บุญเจือ ทองประหวั่น | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T07:05:59Z | |
dc.date.available | 2012-11-22T07:05:59Z | |
dc.date.issued | 2526 | |
dc.identifier.issn | 9745620998 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25248 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพขวัญในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด 2. เพื่อศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อขวัญในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ 3. เพื่อเปรียบเทียบขวัญในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ โดยพิจารณาจากตัวแปรต่าง ๆ คือ เพศ อายุ วุฒิ ตำแหน่ง ฝ่ายที่ปฏิบัติงาน และเวลาที่เข้าสู่ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ สมมุติฐานของการวิจัย 1. ศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดมีขวัญไม่ดี 2. ขวัญของศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างศึกษานิเทศก์กลุ่มต่าง ๆ ตามเพศ อายุ วุฒิ ตำแหน่ง ฝ่ายที่ปฏิบัติงาน และเวลาที่เข้าสู่ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากรเป็นศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด 28 จังหวัด ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม กระจายไปทั่วประเทศตามสัดส่วนของจังหวัดในแต่ละภาค รวมจำนวนศึกษานิเทศก์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างประชากร 360 คน การเก็บข้อมูล ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามชนิดกำหนดคำตอบ (Check list) ซึ่งประกอบด้วยข้อถาม เกี่ยวกับภูมิหลังของผู้ตอบ จำนวน 6 ข้อ และข้อถามเกี่ยวกับขวัญในการปฏิบัติงาน จำนวน 60 ข้อ ไปให้ศึกษานิเทศก์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างประชากรตอบ และส่งคืนผู้วิจัยทางไปรษณีย์ จำนวนแบบสอบถามที่ได้รับคืน 303 ฉบับ เป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ สามารถใช้เป็นข้อมูลในการวิจัยได้จำนวน 299 ชุด (ร้อยละ 83.06) สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS คำนวณค่าร้อยละและค่า ไค-สแควร์ สรุปผลการวิจัย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปได้ว่า 1. ศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดมีขวัญไม่ดี 2. ศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดมีความรู้สึกพึงพอใจต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อขวัญในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับต่ำทุกปัจจัย ปัจจัยที่ศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดมีความรู้สึกพึงพอใจต่ำมาก ได้แก่ ความมั่นคงของงาน สภาพการปฏิบัติงาน ความเจริญก้าวหน้า และเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล 3. ขวัญของศึกษานิเทสก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด เมื่อแยกเปรียบเทียบโดยพิจารณาตัวแปรต่าง ๆ คือ (1) เพศ (2) อายุ (3) วุฒิ (4) ตำแหน่ง (5) ฝ่ายที่ปฏิบัติงาน (6) เวลาที่เข้าสู่ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ พบว่า ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นเมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างศึกษานิเทศก์ที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี กับศึกษานิเทศก์ที่อายุเกิน 40 ปี ที่พบว่าศึกษานิเทศก์ที่อายุเกิน 40 ปี มีความพึงพอใจต่อสถานภาพในสังคมมากกว่าศึกษานิเทศก์ที่อายุไม่เกิน 40 ปี และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างศึกษานิเทศก์ฝ่ายนิเทศการศึกษากับศึกษานิเทศก์ฝ่ายแผนพัฒนาที่พบว่าศึกษานิเทศก์ฝ่ายนิเทศการศึกษามีความพึงพอใจต่อลักษณะของงานมากกว่าศึกษานิเทศก์ฝ่ายแผนพัฒนา และศึกษานิเทศก์ฝ่ายแผนพัฒนามีความพึงพอใจต่อสภาพการขาดงานและการโยกย้ายอย่างสมเหตุสมผลของเพื่อนร่วมงานมากกว่าศึกษานิเทศก์ฝ่ายนิเทศการศึกษา อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 | |
dc.description.abstractalternative | Purposes: 1. To study the morale of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education. 2. To study the factors that influenced the morale of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education. 3. To compare the morale of the educational supervisors considered by six variables: sex, age, academic qualifications, positions, area of supervisory function and total years of being educational supervisors. Hypotheses: 1. The morale of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education is low. 2. The morale of the educational supervisors in the Office of the Provincial Elementary Education varies by sex, age, academic qualifications, positions, area of supervisory function and total years of being educational supervisors is different. Research Methodology: The sample used in the study were 360 educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education from 28 provinces selected by cluster sampling. The data were collected from a questionnaire concerning the morale level of the educational supervisors. A total of 303 questionnaires out of 360 copies were returned and 299 complete copies or 83 percent were analyzed. The statistic methods used in the research were percentage and chi-square test. Findings: The findings of the study were summarized as follows: 1. The morale of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education is low. 2. The level of satisfaction of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education is low in every factor affecting the working morale. The factors which cause very low satisfaction are work security, working conditions, promotion and salary and fringe benefit. 3. The morale of the educational supervisors in the Office of Provincial Elementary Education as a whole do not vary significantly by sex, age, academic qualifications, positions, area of supervisory function and total years of being educational supervisors. Significant difference is found at the level of .05 between the educational supervisors under 40 years of age and 40 years or older in the area of social status satisfaction. The significant difference is also found at the level of .05 between the supervisors who perform supervisory function and planning and development function in the areas of job satisfaction and the number of supervisors who are absent and transfer from duty. | |
dc.format.extent | 5888753 bytes | |
dc.format.extent | 5966025 bytes | |
dc.format.extent | 10352977 bytes | |
dc.format.extent | 2733388 bytes | |
dc.format.extent | 12757931 bytes | |
dc.format.extent | 7019181 bytes | |
dc.format.extent | 7694863 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ขวัญในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด | en |
dc.title.alternative | Morale of the educational supervisors in the office of provincial elementary education | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Boonjua_To_front.pdf | 5.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_Ch1.pdf | 5.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_Ch2.pdf | 10.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_Ch3.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_Ch4.pdf | 12.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_Ch5.pdf | 6.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonjua_To_back.pdf | 7.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.