Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25281
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พร้อมพรรณ อุดมสิน | - |
dc.contributor.author | บุญเลิศ กล่อมจิตต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T07:45:21Z | - |
dc.date.available | 2012-11-22T07:45:21Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.issn | 9745671037 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25281 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาแนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับความรู้ ความจำเกี่ยวกับการคิดคำนวณ ความเข้าใจ การนำไปใช้ และการวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. เพื่อเปรียบเทียบความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2528 ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 312 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบทดสอบวัดแนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบวัดความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างมัชฌิมเลขคณิตเป็นรายคู่ตามวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า 1. จำนวนนักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับความเข้าใจมีมากเป็นอันดับแรก รองลงมือระดับการนำไปใช้ การวิเคราะห์และความรู้ความจำเกี่ยวกับการคิดคำนวณตามลำดับ 2. นักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์แตกต่างกันมีความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อพิจารณาเป็นรายคู่พบว่านักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับความเข้าใจกับนักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับการนำไปใช้มีความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับความเข้าใจกับนักเรียนที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับการวิเคราะห์มีความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนั้นไม่พบความแตกต่างระหว่างความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were : 1. To study cognitive preference in mathematics on the level of computation, comprehension, application and analysis of upper secondary school students. 2. To compare the interest in and attitude towards mathematics of upper secondary school students with different cognitive preference in mathematics. The samples of this study were 312 mathayom suksa six students in 1985 academic year in Bangkok Metropolis. The research instruments were the cognitive preference test and the interest in and attitude towards mathematics inventory. The data were analyzed by means of percentage, one-way analysis of variance and Scheffe’s Test for all possible comparison. The results of this study showed that : 1. The number of students using cognitive preference in mathematics on the level of comprehension were highest. The next were the level of application, analysis and computation respectively. 2. The students with different cognitive preference in mathematics had different interest in an attitude towards mathematics at the 0.01 level of significance. The students using the level of comprehension and those using application of cognitive preference in mathematics had different interest in and attitude towards mathematics at the 0.05 level of significance. The students using the level of comprehension and those using analysis of cognitive preference in [mathematics] had different interest in and attitude towards mathematics at the 0.05 level of [significance]. There was no significant different in the interest in and attitude towards mathematics of students in the other groups. | |
dc.format.extent | 374894 bytes | - |
dc.format.extent | 403938 bytes | - |
dc.format.extent | 754852 bytes | - |
dc.format.extent | 409220 bytes | - |
dc.format.extent | 276718 bytes | - |
dc.format.extent | 432750 bytes | - |
dc.format.extent | 904516 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | การแก้ปัญหา | |
dc.title | การเปรียบเทียบความสนใจและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เลือกใช้แนวทางการคิดแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์แตกต่างกัน | en |
dc.title.alternative | A comparison of interest in and attitude towards mathematics of upper secondary school students with different cognitive preference in mathematics | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Boonlert_Kr_front.pdf | 366.11 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_ch1.pdf | 394.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_ch2.pdf | 737.16 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_ch3.pdf | 399.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_ch4.pdf | 270.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_ch5.pdf | 422.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Boonlert_Kr_back.pdf | 883.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.