Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
dc.contributor.authorบุญลือ มีมาก
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-22T08:04:37Z
dc.date.available2012-11-22T08:04:37Z
dc.date.issued2525
dc.identifier.issn9745609811
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25298
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractจุดมุ่งหมายการวิจัยนี้เพื่อจะศึกษาและวิเคราะห์หาความแตกต่างของปัญหาในด้านต่าง ๆ ของนักเรียนผลัดเช้า กับผลัดบ่ายในโรงเรียนมัธยมศึกษาสองผลัด ปัญหาที่กล่าวนั้นคือปัญหาการเดินทาง การเรียนการสอน การใช้บริการห้องสมุด การใช้บริการโรงอาหาร นันทนาการและสุขอนามัย การปกครอง และความสัมพันธ์ภายในครอบครัว นอกจากนั้นก็สำรวจแนวคิดกับข้อเสนอแนะของนักเรียนสองผลัดในเรื่องการจัดโรงเรียนมัธยมศึกษาสองผลัด รวมทั้งการสังเกตการณ์มาสายของนักเรียนผลัดเช้า โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างประชากรจาก 2 ระดับ โรงเรียน คือ โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 3,000 คนขึ้นไป และโรงเรียนที่มีนักเรียนต่ำกว่า 3,000 คนลงมา ซึ่งแต่ละระดับโรงเรียนสุ่มนักเรียนผลัดเช้า จำนวน100 คน ผลัดบ่ายจำนวน 100 คน และผลัดปกติ จำนวน 100 คน จากโรงเรียนที่เปิดสอนสองผลัด และโรงเรียนที่เปิดสอนผลัดเดียว โดยแต่ละระดับนั้นศึกษาในลักษณะเดียวกัน ผลการวิเคราะห์หาความแตกต่างโดยใช้ โฮเทลลิ่ง T² กับ F-test ของนักเรียนผลัดต่าง ๆ ในระดับโรงเรียนทั้งสองระดับได้ผลดังตาราง ก. ตาราง ก. ระดับความมีนัยสำคัญของความแตกต่างของปัญหาของนักเรียนผลัดต่าง ๆ ในระดับโรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 3,000 คนขึ้นไป และระดับโรงเรียนที่มีนักเรียนต่ำกว่า 3,000 คนลงมา [ตาราง] ผลการมาสายของนักเรียนผลัดเช้าทั้งสองระดับโรงเรียน มีจำนวนร้อยละ ใกล้เคียงกันคือ ระดับที่นักเรียนตั้งแต่ 3,000 คนขึ้นไปร้อยละ 4.46 และระดับโรงเรียนที่มีนักเรียนต่ำกว่า 3,000 คนลงมาร้อยละ 6.03 ผลสำรวจแนวคิดและข้อเสนอแนะในการจัดโรงเรียนสองผลัดของนักเรียนในระดับโรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 3,000 คนขึ้นไป และต่ำกว่า 3,000 คน ลงมา พบว่าเห็นด้วยในการเปลี่ยนจากโรงเรียนสองผลัดเป็นโรงเรียนผลัดเดียว ผลัดเข้าร้อยละ 84.56 และ 69.61 ตามลำดับ ส่วนผลัดบ่ายร้อยละ 80.16 และ 59.35 ตามลำดับ และข้อเสนอแนะในการจัดโรงเรียนสองผลัด ส่วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะด้านการเรียนการสอน ควรปรับปรุงอุปกรณ์การสอนจัดเวลาเรียน วิชาเรียน การสอน การสอบและการใช้ห้องเรียนร่วมกัน ผลัดเช้าร้อยละ 51.13 และ 47.71 ตามลำดับ ผลัดบ่ายร้อยละ 42.11 และ 45.10 ตามลำดับ ดังนั้นข้อเสนอแนะในการจัดโรงเรียนสองผลัด ควรคำนึงถึงด้านการเรียนการสอน การจัดเวลาเรียน วิชาเรียน การสอน การสอบและการใช้ห้องเรียนร่วมกัน โดยจัดให้เสมอกันทั้งผลัดเช้าและผลัดบ่าย
dc.description.abstractalternativeof schools consisted of a two-shift school and a regular-shift school. One hundred students were randomly selected from each shift of each group. Thus the total was 600 students. The obtained data was tabulated and analyzed in percentage. The problems were compared using Hotelling T² and F-test, the results of which are as summarized in Tables A. Table A Significant level of the difference between the problems of the secondary school students from difference shift and difference size of school [Table] The percentage of the students who were late to school in the morning was not markedly conspicuous: 4.46% for the large school and 6.03% for the small school. With regard to the prospect of two-shift schools, it was found that 84.56% of the morning-shift students and 80.16% of the afternoon shift students from the large school thought that the two-shift schools should be eliminated. The students from the small school also agreed with 69.61% and 59.35% for the morning-shift and afternoon-shift students, respectively. Among these and average of 47% of the students from both schools gave their opinions on how two-shift schools should ideally be managed in terms of teaching methodology class schedule, subject matter, and classroom utilization.
dc.format.extent536532 bytes
dc.format.extent487664 bytes
dc.format.extent738400 bytes
dc.format.extent419477 bytes
dc.format.extent1193136 bytes
dc.format.extent895714 bytes
dc.format.extent559979 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบปัญหาของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสองผลัด ในเขตกรุงเทพมหานครตามการรับรู้ของนักเรียนen
dc.title.alternativeA comparison of problems of the two-shift secondary school students in Bangkok Metropolis as perceived by studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonleu_Me_front.pdf523.96 kBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_ch1.pdf476.23 kBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_ch2.pdf721.09 kBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_ch3.pdf409.65 kBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_ch4.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_ch5.pdf874.72 kBAdobe PDFView/Open
Boonleu_Me_back.pdf546.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.