Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25444
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ เพียรชอบ
dc.contributor.authorบุญเรือง ไตรคุ้มดัน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-23T02:48:17Z
dc.date.available2012-11-23T02:48:17Z
dc.date.issued2524
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25444
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractจุดมุ่งหมายในการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษามรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนราษฎร์ในจังหวัดมหาสารคาม เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลกับโรงเรียนราษฎร์ในจังหวัดมหาสารคาม และสร้างเกณฑ์ปกติวิสัย (Norm) สมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม โดยใช้แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ (The International Committee for Standardized Physical Fitness Test) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นพวก (Stratified random sampling) จากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาสายสามัญของโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 1,440 คน เป็นชาย 720 คน จากโรงเรียนรัฐบาลชาย 360 คน หญิง 360 คน โรงเรียนราษฎร์ชาย 360 คน หญิง 360 คน แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลงคะแนนดิบเป็นคะแนน “T” ปกติ และทดสอบค่า “ซี” จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า 1. จากการสร้างเกณฑ์ปกติวิสัย (Norm) ปรากฏว่ามีนักเรียนในแต่ละระดับชั้นที่มีสมรรถภาพทางกาย ระดับดีเลิศ ระหว่างร้อยละ 0.83 - 5.00 ระดับดี ร้อยละ 8.33 - 17.50 ระดับปานกลาง ร้อยละ 60.83 - 73.33 ระดับพอใช้ ร้อยละ 10.00 - 19.17 และระดับยังไม่พอใช้ ร้อยละ 0.83 - 4.17 2. สมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนชาย ชั้น ม.1, ม.2, ม.ศ.3, ม.ศ.5 โรงเรียนรัฐบาล แตกต่างกับโรงเรียนราษฎร์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือนักเรียนชาย ชั้น ม.1, ม.2, ม.ศ.3, ม.ศ.5 โรงเรียนรัฐบาลมีสมรรถภาพทางกายรวมดีกว่าโรงเรียนราษฎร์ ส่วนสมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนชาย ชั้น ม.2 และ ม.ศ.4 ของโรงเรียนรัฐบาลกับโรงเรียนราษฎร์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. สมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนหญิง ชั้น ม.2, ม.3, ม.ศ.5 โรงเรียนรัฐบาลแตกต่างกับโรงเรียนราษฎร์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือนักเรียนหญิงชั้น ม.2, ม.3 และ ม.ศ.5 โรงเรียนรัฐบาลมีสมรรถภาพทางกายรวมดีกว่าโรงเรียนราษฎร์ ส่วนสมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนหญิงชั้น ม.1, ม.ศ.3 และ ม.ศ.5 ของโรงเรียนรัฐบาลกับโรงเรียนราษฎร์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 4. สมรรถภาพทางกายรวมของนักเรียนชาย, นักเรียนหญิง ระดับมัธยมศึกษารวมทุกระดับชั้นของโรงเรียนรัฐบาลกับโรงเรียนราษฎร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงโรงเรียนรัฐบาลมีสมรรถภาพทางกายรวมดีกว่านักเรียนชาย และหญิงโรงเรียนราษฎร์
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to investigate and compare the physical fitness of secondary school students in public and private schools in Maha Sarakham Province. Also it was aimed to set up the physical fitness norms for these students. A stratified random sampling method was used to select 1440 students from public and private schools with equal boys and girls from each grade level. The International Committee for Standardized Physical Fitness Test was used in collecting the data. The obtained data were then analyzed to obtain the means and standard deviations. Z-text was also employed to determine the significant difference. It was found that: 1. Physical fitness norms for both boys and girls students were also constructed and between 0.83 – 5.00 percent of students were in excellent group, 8.33 – 17.50 percent in good group, 60.83 – 73.33 percent in moderate group, 10.00 – 19.17 percent in fair group and 0.83 – 4.17 percent in poor group. 2. Physical fitness of boy students in public schools in Mathayom I Mathayom 2 Mathayomsuksa 3 and Mathayomsuksa 5 were significantly better than these in private schools at the .05 level. In the other grade levels there was no significant difference at the .05. 3. Physical fitness of girl students in public schools in Mathayom 2, Mathayom 3 and Mathayomsuksa 5 were significantly better than those in private schools at the .05 level. In the other grade levels there was no significant difference at the .05. 4. The physical fitness of both all boy students and girl students from all grade levels in public schools were significantly better than those of boys and girls in private schools at the .05 level.
dc.format.extent434855 bytes
dc.format.extent519557 bytes
dc.format.extent828682 bytes
dc.format.extent318776 bytes
dc.format.extent1031378 bytes
dc.format.extent381244 bytes
dc.format.extent958978 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนราษฎร์ ในจังหวัดมหาสารคามen
dc.title.alternativeThe physical fitness of the secondary school students in public and private schools in Maha Sarakham provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonruang_Tr_front.pdf424.66 kBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_ch1.pdf507.38 kBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_ch2.pdf809.26 kBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_ch3.pdf311.3 kBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_ch4.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_ch5.pdf372.31 kBAdobe PDFView/Open
Boonruang_Tr_back.pdf936.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.