Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ริจิรวนิช-
dc.contributor.authorวรณา จิรานพคุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-23T08:11:49Z-
dc.date.available2012-11-23T08:11:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741745338-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25607-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractเนื่องจากระบบการประเมินผลได้มีการวิวัฒนาการต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นที่สุด จนถึงปัจจุบันความเข้าใจในระบบการประเมินผลต่างๆ รวมถึงความสัมพันธ์ของแต่ละระบบการเประเมินผลยังเป็นที่เข้าใจไม่เด่นชัด ซึ่งจากความไม่เข้าใจต่าง ๆ เหล่านี้จึงเกิดความน่าสนใจในการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบแต่ละระบบการประเมินผลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากแต่ละระบบต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่าย ถ้าไม่มีความเข้าใจในระบบจะทำให้เกิดการมุ่งเน้นจนเกินเหตุ จึงควรทำความเข้าใจเพื่อสามารถเลือกใช้กระบวนการในการประเมินผลได้อย่างเหมาะสมทั้งการแยกใช้ระบบใดระบบหนึ่งและการใช้หลายระบบร่วมกัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีขั้นตอนการดำเนินงานคือ มีการสำรวจงานวิจัยต่าง ๆ และศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย จากนั้นได้ทำการศึกษาถึงวิวัฒนาการของระบบการประเมินผลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และทำการสำรวจแนวความคิดเห็นของบุคคลในอุตสาหกรรมการผลิต รวมถึงแนวความคิดเห็นที่ได้จากการจัดสัมมนาขึ้น โดยแนวความคิดเห็นสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ พื้นฐานความรู้ และ แนวความคิดเห็นเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ระบบการวัดสมรรถนะ จากการศึกษาวิวัฒนาการของระบบการประเมินผล พบว่าเนื่องจากยังคงพบข้อบกพร่องหรือข้อจำกัดในแต่ละระบบ เช่น การใช้ตัวชี้วัดทางการเงินเพียงอย่างเดียวในระบบการประเมินผลแบบ Conventional Measurement จึงทำให้เกิดการพัฒนาระบบการประเมินผลแบบใหม่ขึ้นมาเรื่อย ๆ เช่น KPI และ BSC (Balanced Scorecard) หรือมีการประยุกต์ใช้ระบบการประเมินผลต่าง ๆ ร่วมกัน และจากการศึกษาเปรียบเทียบ ทำให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และประโยชน์ของแต่ระบบ รวมถึงความแตกต่างของแต่ละระบบการประเมินผล อีกทั้งปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการนำระบบการประเมินผลไปใช้ เช่น การนำ BSC ไปใช้ และมอง BSC เป็นกิจกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง ซึ่งจริงๆ แล้ว BSC ไม่ใช่โครงการที่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ชัดเจน แต่จะต้องมีความต่อเนื่องและไม่มีวันจบสิ้น สุดท้ายจากการสำรวจแนวความคิดเห็นของบุคคลในอุตสาหกรรมการผลิต พบว่าส่วนใหญ่ยังคงมีความเข้าใจที่ไม่ตรงกันและไม่ชัดเจน อาทิเช่น BSC แตกต่างจาก KPI อย่างไร จึงควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบการประเมินผลต่าง ๆ ให้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น โดยเฉพาะแนวทางในการประยุกต์ใช้ระบบการประเมินผลร่วมกับเครื่องมือื่น ๆ เช่น การใช้ BSC ร่วมกับ EVA (Economic Value Added) หรือ ABC (Activity-Based Costing) เป็นต้น-
dc.description.abstractalternativeAs a boundless evolution of performance measurement systems, understanding of these systems are in doubt. Since developing the measurement process without fully understanding is cost and time consuming, comparing all of the performance measurement systems as existed now is therefore an interesting issue. The process of the thesis was begun with many literature reviews and studying about theories related to the thesis. Then, studying the evolution of all performance measurement systems and surveying opinions among people in manufacturing industry including opinions from a seminar which can be classified into two categories: fundamental knowledge and opinions of performance measurement implementation. From the study of performance measurement systems evolution, it is found that there are many disadvantages or limitations in each system. Using only financial measures in conventional measurement is one of them. For this reason, it is needed to develop the new ones such as KPI and Balanced Scorecard (BSC) or implement these systems simultaneously. Moreover, the comparison study leads to objectives and advantages for each system including the difference for each one. Also, problems and obstacles in implement the systems such as implementation of BSC which is not just another project but it is a continuous cyclical management process. Finally, from surveying opinions among people in manufacturing industry, it is found that there are various opinions, For example, opinions about how different between BSC and KPI. Therefore, there should be more additional research about performance measurement systems; especially the way to implement them to the other tools such as combining BSC with EVA (Economic Value Added) or ABC (Activity-Based Costing).-
dc.format.extent3092160 bytes-
dc.format.extent1682992 bytes-
dc.format.extent16975836 bytes-
dc.format.extent1886195 bytes-
dc.format.extent32132063 bytes-
dc.format.extent3709328 bytes-
dc.format.extent2596907 bytes-
dc.format.extent4474836 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบระบบการวัดสมรรถนะในอุตสาหกรรมการผลิตen
dc.title.alternativeComparative study of performance measurement systems for manufacturing industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worana_ji_front.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch1.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch2.pdf16.58 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch3.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch4.pdf31.38 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch5.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_ch6.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open
Worana_ji_back.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.