Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทียนฉาย กีระนันทน์-
dc.contributor.authorราชัน ลิ้มประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-23T08:51:51Z-
dc.date.available2012-11-23T08:51:51Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25635-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractปัจจุบันรัฐบาลได้เริ่มให้ความสนใจต่อการขนส่งสินค้าทางรถไฟมากขึ้นหลังจากที่ได้เน้นการพัฒนาการขนส่งทางถนนในช่วงสิบปีที่ผ่านมา เนื่องจากสภาวะน้ำมันมีราคาแพง ทำให้ต้องใช้วิธีการขนส่งที่ประหยัดน้ำมัน ดังนั้น การขนส่งสินค้าทางรถไฟ จึงได้เริ่มมีความสำคัญขึ้นมาเพื่อเป็นการขนส่งที่ประหยัดน้ำมันและลดความสูญเสียในด้านอื่น ๆ ด้วย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนมุ่งที่จะศึกษาถึงปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดปริมาณสินค้าที่ทำการขนส่งทางรถไฟว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง โดยแบ่งประเภทสินค้าที่จะทำการศึกษาออกเป็น 5 ประเภทใหญ่ ๆ คือ สินค้าประเภทน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน สินค้าประเภทเกษตรกรรมอันประกอบด้วย ข้าวและข้าวโพด สินค้าประเภทแร่ต่าง ๆ อันประกอบด้วย แร่แบไรท์ แร่ฟลูออไรท์ และแร่ยิบซั่ม สินค้าประเภทไม้ซุงไม้แปรรูป และสินค้ารวมของการรถไฟ ซึ่งระยะเวลาที่จะทำการศึกษาจะพิจารณาการขนส่งสินค้าในช่วงปี พ.ศ. 2508 -2523 การวิเคราะห์นี้ได้อาศัยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค และวิธีการทางเศรษฐมิติควบคู่กันไป ผลจากกาวิเคราะห์ปรากฏว่า ปริมาณการขนส่งแปรผันตามมูลค่าการผลิต การขึ้นค่าระวางไม่ทำให้การขนส่งมีปริมาณลดน้อยลงเพราะการขนส่งทางอื่นมีค่าขนส่งสูงกว่าโดยเปรียบเทียบและการขนส่งทางรถบรรทุกไม่มีลักษณะดำเนินงานแข่งขันกับทางรถไฟเพราะทำการขนส่งในระยะใกล้ ๆ และรับขนส่งต่อเนื่องต่อจากรถไฟ ส่วนการส่งออกไม่ทำให้การขนส่งทางรถไฟเพิ่มขึ้นและยังทำให้ระยะทางเฉลี่ยลดลง ส่วนสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์เกษตรและสินค้าประเภทแร่ ตัวแปรที่กำหนดไม่สามารถอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงในปริมาณการขนส่งทางรถไฟได้ดีนักอาจเนื่องมาจากมีการใช้อัตราค่าระวางพิเศษกับสินค้าทั้งสองประเภทนี้มาก ปริมาณที่บรรทุกจึงขึ้นอยู่กับนโยบายด้านการตลาดมากกว่าตัวแปรที่กำหนด ส่วนสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์ไม้ ผลการศึกษาคล้ายคลึงกับสินค้าประเภทน้ำมันและปูนซีเมนต์ แต่การแข่งขันทางรถบรรทุกทำให้ปริมาณการขนส่งทางรถไฟลดลงและถ้าบรรทุกส่งทางรถไฟคราวละมาก ๆ และระยะทางไกล ๆ จะทำให้ค่าระวางต่ำลงได้ และปริมาณขนส่งสินค้ารวมของการรถไฟฯ จากการศึกษาพบว่า แปรผันตามมูลค่าการผลิตและแปรผันกลับค่าระวางส่วนการส่งออกไม่ทำให้การขนส่งทางรถไฟมีปริมาณเพิ่มขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe development of Railway network has recently been emphasized by the government just right after development of road and trucks had been playing a leading role in cargo transport during the last decode. This is due to a continuous increase in the cost of road transportation because of the rise in price since 1973. The development of railway freight services thus becomes relatively more and more important. The object of this Thesis is to study the factors determining the demand for railway freight services. The study classified commodities into five main groups i.e., 1) Petroleum Products 2) Cement 3) Agricultural products 4) Forestry products 5) Mineral product The study concentrated on the rail freight transportation in Thailand during the period 1965-1981. A econometric model with the tools of micre-economic analysis was proposed in this study. The results of regression tests of five commodities and total rail freight could be summarized as follows: - Railway freight demand in volume not price-elastic because the freight rate of trucking was relatively higher. – The competitive effect of the trucking industry on the railway freight demand was not quite serious since it was on a rather short distance for mast commodities. – The export-share variable was not a significant determinant of rail freight demand and showed a significant positive effect upon the average length of haul. – Transport demand of agricultural and mineral products could not be explained by output, price, export share and competition trucking industry since most of these products were railed under relatively lower commodity rates. – In the case of forestry products, its volume transported by rail was quite small to a highly competitive scale of trucks. – The unit cost of rail operation could be significantly reduced if shipment could have been made in larger sizes and longer distances. – More than 80 percent of the variation in aggregate freight rate was explained by output, price and export-share.-
dc.format.extent454122 bytes-
dc.format.extent310066 bytes-
dc.format.extent1963209 bytes-
dc.format.extent1607903 bytes-
dc.format.extent1084184 bytes-
dc.format.extent373476 bytes-
dc.format.extent588727 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอุปสงค์ต่อการขนส่งสินค้าทางรถไฟในประเทศไทยen
dc.title.alternativeThe demand for railway freight services in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rachan_Li_front.pdf443.48 kBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_ch1.pdf302.8 kBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_ch2.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_ch3.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_ch4.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_ch5.pdf364.72 kBAdobe PDFView/Open
Rachan_Li_back.pdf574.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.