Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ-
dc.contributor.authorสุกัน แก้วหนูจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-18T06:24:40Z-
dc.date.available2006-09-18T06:24:40Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741711344-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2566-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาววิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractข้อมูลทางด้านการสืบพันธุ์และข้อมูลการทดสอบพันธุ์ ของแม่สุกรพันธุ์แท้ที่ถูกคัดทิ้งแต่ปี 2534-2544 จำนวน 2,224 แม่ (16,621 บันทึก) จาก 2 ฟาร์ม โดยฟาร์มที่ 1 เป็นของหน่วยงานราชการ และฟาร์มที่ 2 เป็นฟาร์มของเอกชน ซึ่งประกอบด้วยแม่สุกรพันธุ์ดูรอค พันธุ์แลนด์เรซ พันธุ์ลาร์จไวท์และพันธุ์ยอร์คเชียร์ นำมาศึกษาหาค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมได้แก่ ค่าอัตราพันธุกรรม ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และค่าสหสัมพันธ์ทางลักษณะปรากฏ ของลักษณะอายุการใช้งานที่แท้จริง (TL) ลักษณะอายุการใช้งานที่ให้ผลผลิต (FT) ลักษณะจำนวนลูกคลอดทั้งหมดตลอดชั่วอายุ (LTB) ลักษณะจำนวนลูกคลอดมีชีวิตตลอดชั่วอายุ (LBA) และลักษณะจำนวนลูกหย่านมตลอดชั่วอายุ (LNW) วิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยวิธี Restricted Maximum Likelihood (REML) ผลการศึกษาพบว่า ค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะอายุการใช้งานที่แท้จริง (TL) มีค่าเท่ากับลักษณะอายุการใช้งานที่ให้ผลผลิต (FL) โดยมีค่าเท่ากับ 0.03 และ0.04 สำหรับฟาร์มที่1 และฟาร์มที่ 2 ตามลำดับ ค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะ LTB, LBA และลักษณะ LNW เมื่อวิเคราะห์รวมทุกพันธุ์มีค่าเท่ากับ 0.16 , 0.20 ,0.13 และ 0.17, 0.18 และ 0.12 ในฟาร์มที่ 1 และฟาร์มที่ 2 ตามลำดับ ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างลักษณะอายุการใช้งาน และผลผลิตตลอดชั่วอายุมีค่าอยู่ระหว่าง 0.37 ถึง 0.65 และ -0.14 ถึง 0.25 สำหรับฟาร์มที่ 1 และฟาร์มที่ 2 ค่าสหสัมพันธ์ทางลักษณะปรากฏระหว่างลักษณะอายุการใช้งาน และผลผลิตตลอดชั่วอายุพบว่า มีค่าต่ำอยู่ระหว่าง -0.04 ถึง 0.05 และ 0.07 ถึง 0.10 ในฟาร์มที่ 1 และฟาร์มที่ 2 ตามลำดับ ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และค่าสหสัมพันธ์ทางลักษณะปรากฏระหว่างลักษณะ LTB, LBA และ LNW พบว่ามีค่าค่อนข้างสูง โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.65 ถึง 0.98 และ 0.50 ถึง 0.90 ในฟาร์มที่ 1 และฟาร์มที่ 2 ตามลำดับ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การคัดเลือกและปรับปรุงให้แม่สุกรมีอายุการใช้งานที่นานขึ้น โดยตรงนั้นอาจเป็นสิ่งที่กระทำได้ยาก เนื่องจากมีค่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมต่ำการคัดเลือกโดยทางอ้อมเช่นคัดเลือกให้พ่อแม่สุกรมีลักษณะภายนอก (ขา กีบเท้า เต้านม) ที่เหมาะสมร่วมกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อม อาจทำให้สามารถเพิ่มอายุการงานของแม่สุกรขึ้นได้en
dc.description.abstractalternativeReproductive traits and on farm performance test records of Duroc, Landrace, Large white and Yorkshire sows from a government farm (Farm 1) and a commercial farm (Farm 2) of 2,224 sows which were culled during 1991-2001 were analysed. The sows included must have had at least one farrowing record and two piglets weaned. Total number of records after editing were 16,621. Genetic parameters for true longevity (TL), functional longevity (FL), lifetime total born (LTB), lifetime born alive (LBA) and lifetime number of piglets weaned (LNW) were analysed using restricted maximum likelihood (REML) based on multiple traits animal model. Heritability estimates for TL and FL were similar at 0.03 and 0.04 in Farm 1 and Farm 2, respectively. Heritabilities for LTB, LBA and LNW were estimated to be 0.16, 0.20, 0.13 and 0.17, 0.18, 0.12 in Farm 1 and Farm 2, respectively. The genetic correlation estimates between longevities and lifetime productivities ranged from 0.37 to 0.65 in Farm 1 and -0.14 to 0.25 in Farm 2. The phenotypic correlation between longevities and lifetime productivities were from -0.04 to 0.05 and 0.07 to 0.10 in Farm 1 and Farm 2, respectively. High genetic and phenotypic correlations among LTB, LBA and LNW of sows in two farms were found from 0.65 to 0.98 and 0.50 to 0.90, respectively. Small to zero genetic progress would be resulted from selection for TL and FL due to low heritabilities of the traits. Indirect selection of other conformation traits related to health, stature and reproduction such as legs, feet and udders as well as improving environmental conditions might be more effective in improving sow lifetime production.en
dc.format.extent548298 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาววิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุกร -- พันธุศาสตร์en
dc.titleการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมของลักษณะอายุการใช้งาน และผลผลิตตลอดชั่วอายุของแม่สุกรในฝูงพันธุ์แท้en
dc.title.alternativeGenetic Analysis of sows longevity and lifetime productivity in two purebred swine herdsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการปรับปรุงพันธุ์สัตว์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChancharat.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soukanh_Keon.pdf636.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.