Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย คุ้มเสาร์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-23T16:24:05Z
dc.date.available2012-11-23T16:24:05Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741731469
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25745
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำในการบำบัดน้ำทางชีวภาพของบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำความเค็มต่ำโดยใช้สาหร่ายสไปรูลินาและปลานิล เลี้ยงกุ้งกุลาดำ ที่ระดับความเค็มของน้ำ 5 พีพีที ในถังไฟเบอร์ความจุ 150 ลิตร ทดลองระบบน้ำเดียวกลางแจ้ง วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design involved factorials โดยมีอัตราความหนาแน่ของสาหร่ายสไปรูลินาและปลานิลเป็นปัจจัย ที่ปัจจัยละ 3 ระดับ คือ ความหนาแน่นของสาหร่ายสไปรูลินา 0, 4.2x108 และ 8.4 x108 ไตรโคมต่อลิตร และความหนาแน่นของปลานิลที่ 0, 3 และ 6 ตัวต่อน้ำ 150 ลิตร ทำการตรวจสอบพารามิเตอร์ของคุณภาพน้ำต่างๆ ดังนี้ แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนตรท ฟอสเฟต และคลอโรฟิลล์ โดยแต่ละค่าพารามิเตอร์จะทำการวัดทุก ๆ 2 วัน จนครบกำหนดการเลี้ยงกุ้ง 3 เดือน ตรวจวัดอุณหภูมิ ออกซิเจนละลาย พีเอช และความเข้มแสงพร้อมกับการเก็บตัวอย่างน้ำทุกครั้ง ผลการทดลอง พบว่าชุดการทดลองที่สามารถบำบัดไนเตรทได้ดีที่สุด คือชุดการทดลองที่มีการเติมสาหร่ายสไปรูลินา ความหนาแน่น 8.4 x 108 ไตรโคมต่อลิตร และมีการเลี้ยงปลานิล 3 ตัวร่วมด้วย ชุดการทดลองที่สามารถบำบัดฟอสเฟตได้ดีที่สุด คือ ชุดการทดลองที่มีการเติมสาหร่ายสไปรูลินา ความหนาแน่น 8.4 x 108 ไตรโคมต่อลิตร ผลการศึกษาความสามารถในการลดสารประกอบไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนีย ไนเตรท รวมทั้งฟอสเฟตจากน้ำเลี้ยงกุ้งกุลา และประสิทธิภาพการสร้างเซลล์ของสาหร่ายสไปรูลินาที่ระดับความหนาแน่น 4.2 x108 และ 8.4 x108 ไตรโคมต่อลิตร พบว่าชุดมีการสร้างเซลล์และขยายจำนวนได้ดีที่สุด คือ ชุดการทดลองที่มีการเติมสาหร่ายสไปรูลินาความหนาแน่น 8.4 x108 ไตรโคมต่อลิตร ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณแอมโมเนีย ไนเตรท และฟอสเฟตที่มีแนวโน้มลดลงเมื่อสาหร่ายสไปรูลินามีการเจริญเพิ่มขึ้น ส่วนชุดที่มีการเลี้ยงปลานิลร่วมด้วยนั้น ไม่ว่าจะมีการเติมสาหร่ายสไปรูลินาที่ความหนาแน่น 4.2 x108หรือ 8.4 x108 ไตรโคมต่อลิตร แต่ถ้ามีปลานิล 6 ตัว จะเพิ่มจำนวนได้น้อยกว่าชุดที่มีการเลี้ยงปลานิลร่วมด้วยเพียง 3 ตัว สำหรับผลผลิตกุ้งกุลาดำพบว่า การเติมสาหร่ายสไปรูลินา 8.4x108 ไตรโคมต่อลิตร มีส่วนในการเพิ่มผลผลิตกุ้งได้สูงกว่าการทดลองที่ไม่ได้เติมสาหร่าย
dc.description.abstractalternativeUse of Spirulina and Tilapia as biological treatment for low salinity shrimp culture was conducted using 3x3 cpm[lately randomized design involved factorials. Three concentration of Spirulina platensis 0, 4.2x108 and 8.4x108 trichome/L and 3 densities of tilapia were used in treatment combination for controlling water quality in low salinity shrimp culture. The experiments were conducted of salinity 5 ppt with 150 litres experimental unit. The culture system was one water and outdoor. During 3 months of experiment, nutrients such as NH4-N, NO2-N, NO3-N and PO4-P and chlorophyll were determined every two days. Water temperature pH, DO, salinity and light intensity were determine daily. The results indicated that a treatment with Spirulina platensis 8.4x108 trichome/L and 3 tilapias gave a better reduction of nitrate concentration while a treatment with results showed that the cultured tank with Spilurina platensis 8.4x108 trichome/L and 3 tilapias reduced the most nitrate concentration while the treatment with Spilurina platensis 8.4x108 trichome/L and no tilapia could give better control of Phosphate during the whole culture period of Penaeus monodon. The results indicated that a treatment with Spilurina platensis 8.4 x108 trichome/L gave better yield of Penaeus monodon than other treatment without Spilurina platensis.
dc.format.extent2861269 bytes
dc.format.extent1153411 bytes
dc.format.extent13457564 bytes
dc.format.extent2419692 bytes
dc.format.extent6724086 bytes
dc.format.extent2278419 bytes
dc.format.extent949325 bytes
dc.format.extent22592014 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการใช้ปลานิล Oreochromis niloticus และสาหร่ายสไปรูลินา Spirulina platensis ในการบำบัดน้ำจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบความเค็มต่ำen
dc.title.alternativeUse of nile tilapia Oreochromis niloticus and Spirulina platensis as biological treatment for low salinity shrimp cultureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nungruthai_kh_front.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch1.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch2.pdf13.14 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch3.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch4.pdf6.57 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch5.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_ch6.pdf927.08 kBAdobe PDFView/Open
Nungruthai_kh_back.pdf22.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.