Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25748
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชินสุข วีรวรรณ | |
dc.contributor.author | สมโภช สืบสินธ์สกุลไชย | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-24T02:38:50Z | |
dc.date.available | 2012-11-24T02:38:50Z | |
dc.date.issued | 2520 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25748 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พณ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520 | en |
dc.description.abstract | กุ้งทะเลเป็นสินค้าเกษตรกรรมที่สำคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิต และผู้ส่งกุ้งทะเลออกที่สำคัญของโลกประเทศหนึ่ง แต่ทางด้านการผลิตหรือการจับตลอดจนการค้ากุ้งทะเลของประเทศไทยยังอยู่ในสภาพที่เรียกได้ว่าไม่มีการพัฒนา หากปล่อยให้สภาพการณ์เป็นไปเช่นนี้แล้ว ในอนาคตประเทศไทยก็จะไม่มีกุ้งทะเลเพื่อส่งออก ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 เป็นต้นมา บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ศึกษาหาลู่ทางที่จะพัฒนาการเลี้ยงกุ้งทะเลให้เป็นอุตสาหกรรมการประมง จากการศึกษาในครั้งแรกพบปัญหาและอุปสรรคนานับประการ ปัญหาที่สำคัญมีดังต่อไปนี้ ปัญหาทางด้านการผลิต ได้แก่ กรรมวิธีการผลิตที่ยังล้าสมัยทำให้ผลผลิตที่ได้ต่ำมากประมาณ 30 ก.ก. ต่อไร่ต่อปี ปัญหาทางด้านการจำหน่าย ได้แก่ โครงสร้างของตลาดกุ้งทะเลยังไม่สมบูรณ์ จึงทำให้ระบบจำหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศมีประสิทธิภาพไม่ดี จากปัญหาทางด้านการผลิตและจำหน่ายข้างต้นทำให้ไม่สามารถจะวางโครงการที่เหมาะสมกับการลงทุนในประเทศไทยได้ ในการศึกษาวิจัย ผู้เขียนจะศึกษาเฉพาะการเลี้ยงกุ้งในลักษณะของอุตสาหกรรมการประมง โดยนำวิธีการเลี้ยงของต่างประเทศมาประกอบการศึกษา เพื่อหาลู่ทางที่จะสามารถผลิตกุ้งขนาดใหญ่ซึ่งได้มาตรฐานในการส่งออก คือขนาดลำตัวยาวประมาณ 15-18 ซ.ม. น้ำหนักประมาณ 20 กรัมต่อตัว ระยะเวลาการเลี้ยงประมาณ 4-7 เดือนต่อครั้ง การศึกษาวิจัยเรื่องโครงการเลี้ยงกุ้งทะเลได้ทำการศึกษาโดยศึกษาจากเอกสารการวิจัยของกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมส่งเสริมความรู้ด้านเทคนิคระหว่างประเทศ และไปชมนากุ้งสาธิตของผู้ทดลองเลี้ยงจนได้ข้อมูลเป็นที่น่าพอใจ และสามารถจัดวางรูปโครงการที่เหมาะสมกับการลงทุนในประเทศไทย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ขนาดของการดำเนินงานที่เหมาะสมอย่างต่ำควรเป็นขนาด 200 ไร่ เนื่องจากให้ผลตอบแทนจากการลงทุน 16% โดยที่กิจการจะต้องมีสถานที่เพาะลูกกุ้งเอง ซึ่งจะทำให้ได้ผลผลิตประมาณ 500 ก.ก. ต่อไร่ต่อครั้ง ซึ่งสูงกว่าการเลี้ยงกุ้งในปัจจุบันหลายเท่าตัว | |
dc.description.abstractalternative | Marine shrimp is one of the important agricultural commodities of Thailand who maintains a major share in the world’s market, but her production or catch of marine shrimp is in a state of lacking adequate development to the extent that, if allowed to remain so, the future prospect of her said export will become very gloomy. The Industrial finance Corporation of Thailand has since 1971 been studying ways and means to initiated measures for raising shrimp as fishery industry. In the initial course of study numerous significant problems were found out and they are as follows :- Production : The production processes are outmoded, thereby causing the yield of production to be as low as approximately 30 kgs. Per rai per year; Marketing : The shrimp market has not yet attained to a fully developed stage that enables the marketing system to render efficiency required both at home and abroad. With such production and marketing problems as referred to in the foregoing it is not possible to formulate a viable project for investment in Thailand. This thesis is intended to study and conduct a research on shrimp farming as fishery industry by applying the cultural processes originated in foreign countries in order to produce a standard-sized shrimp i.e. about 15-18 cm. in length and about 20 gm. in weight with a raising period between 5-7 moths per crop. The research on shrimp farming project is based on the study and evaluation of the documentary researches made by the Fishery Department, Ministry of Agriculture and Co-operative and the Association for International Technical Promotion. Furthermore an inspection of the shrimp-farm demonstration was also made with a given satisfactory information. As a result it is possible to formulate a project feasible for an investment in the country. The result appears that the feasible size for a shrimp farm should be 200 rai as the return on investment is 16 p.a. In this connection the farm should be provided with a nursery pond of which the production yield will be about 500 kgs. Per rai per crop. This figure is several time higher than the production under the existing traditional processes. | |
dc.format.extent | 513588 bytes | |
dc.format.extent | 322710 bytes | |
dc.format.extent | 469379 bytes | |
dc.format.extent | 1343637 bytes | |
dc.format.extent | 956588 bytes | |
dc.format.extent | 639489 bytes | |
dc.format.extent | 996090 bytes | |
dc.format.extent | 864313 bytes | |
dc.format.extent | 321129 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | อุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งทะเลในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Marine shrimp farming industy in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sompoj_Su_front.pdf | 501.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch1.pdf | 315.15 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch2.pdf | 458.38 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch3.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch4.pdf | 934.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch5.pdf | 624.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch6.pdf | 972.74 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_ch7.pdf | 844.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoj_Su_back.pdf | 313.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.