Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25930
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ | |
dc.contributor.advisor | ชูศักดิ์ ประสิทธิสุข | |
dc.contributor.author | สมาน แก้วไวยุทธ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-25T11:51:50Z | |
dc.date.available | 2012-11-25T11:51:50Z | |
dc.date.issued | 2527 | |
dc.identifier.isbn | 9745635154 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25930 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en |
dc.description.abstract | ยาฆ่าแมลงที่นำมาใช้ศึกษาความเป็นพิษต่อยุงก้นปล่องพาหะสำคัญนำไข้มาเลเรียในประเทศไทย 3 สายพันธุ์ คือ Anopheles ( Cellia ) dirus สายพันธุ์ SEAD, AN. (Cel. ) dirus สายพันธุ์ Lampang และ An. ( Cel. ) minimus สายพันธุ์ Saraburi มี 3 กลุ่ม คือ ไพรีทรอยด์ คาร์บาเนต และ ออร์กาโนฟอสเฟต เลือกชนิดที่คาดว่าจะใช้ป็นยาฆ่าแมลงทดแทนมาศึกษากลุ่มละ 2 ชนิด รวมทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ permethrin, bioresmethrin, propoxur, bendiocarb, malathion และ fenitrothion ความเข้มข้น 0.05 , 0.075, 0.02 , 0.05 , 0.5 และ 0.15% เรียงตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่ายาฆ่าแมลง propoxur มีความเป็นพิษต่อยุงที่ทดสอบมากที่สุด แต่ malathion มีความเป็นพิษต่ำสุด เมื่อเปรียบเทียบความไวต่อยาฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ของยุงเพศเมียที่ไม่ได้กินเลือดอายุ 1 วัน พบว่ายุงที่มีความไวต่อยาฆ่าแมลง bioresmethrin และ malathion มากที่สุด คือ An. ( Cel.) dirus สายพันธุ์ SEAD ส่วนยุงที่มีความไวต่อยาฆ่าแมลง permethrin, propoxur, bendiocarb และ fenitrothion มากที่สุด AN. ( Cel.) minimus สายพันธุ์ Saraburi ยุงที่เลี้ยงไว้ถือว่าเป็ยสายพันธุ์จากห้องปฏิบัติการคือ An. ( Cel.) dirus สายพันธุ์ SEAD มีความไวต่อยาฆ่าแมลงที่ใช้ทดสอบสูงกว่ายุงสายพันธุ์จากท้องที่คือ AN. (Cel. ) dirus สายพันธุ์ Lampang และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างยุงที่มีเพศต่างกันพบว่า ยุงเพศผู้มีความไวต่อพิษยาฆ่าแมลงสูงกว่าเพศเมีย (P> 0.05) ยกเว้นยุง AN. ( Cel.) minimus เพศเมียมีความไวต่อ malathion สูงกว่าเพศผู้ (P > 0.05 ) เมื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการตายของยุงก้นปล่อง An. ( Cel.) dirus สายพันธุ์ SEAD ที่ได้กินเลือดกับไม่ได้กินเลือดพบว่า ยุงที่ไม่ได้กินเลือดทั้งอายุ 3 วัน และ 5 วัน เมื่อได้รับยาฆ่าแมลง permethrin, bendiocarb และ fenitrothion มีอัตราการตายสูงกว่ายุงที่ได้กินเลือดที่มีอายุเท่ากัน (P > 0.05) แต่ถ้าเปรียบเทียบระหว่างยุงที่ได้กินเลือดเหมือนกันแต่อายุต่างกัน ( 3 วัน และ 5 วัน ) จะไม่มีความแตกต่างกัน ( P < 0.05 ) ยกเว้นความเป็นพิษของ fenitrothion ที่ระยะเวลานาน 60 นาที ทำให้อัตราการตายของยุงอายุ 5 วัน สูงกว่ายุงอายุ 3 วัน ( P > 0.05 ) เมื่อเปรียบเทียบอัตราการตายของยุงอายุ 3 วัน และ 5 วัน ที่ต่างก็ไม่ได้กินเลือด พบว่าจะมีความแตกต่างกันอย่างเด่นชัดเมื่อได้รับยาฆ่าแมลง fenitrothion โดยยุงอายุ 5 วัน มีอัตราการตายสูงกว่ายุงอายุ 3 วัน ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่ายุงทั้ง 3 สายพันธุ์ มีความไวต่อยาฆ่าแมลงที่ทดสอบทั้ง 6 ชนิดสูงอาจนำมาใช้เป็นยาฆ่าแมลงทดแทนดีดีทีในอนาคต แต่การจะนำไปใช้ในภาคสนามควรจะมีการศึกษารายละเอียดของตัวยาแต่ละชนิดต่อไป | |
dc.description.abstractalternative | Insecticides from 3 groups, pyrethroids carbamates and organophoshates, were tested in order to determine their toxicities against 3 strains of the principal malaria vectors in Thailand. These strains are Anopheles (Cellia) dirus strain SEAD, An. (Cel.) dirus strain Lampang and An.(Cel.) minimus strain Saraburi. Two kinds of each group of insecticides, permethrin, bioresmethrin, propoxur, bendiocarb, malathion and fenitrothion respectively; were tested at concentrations of 0.05,0.075,0.02,0.05,0.5 and 1.5 % respectively. To variety of the compound test, propoxur was the most potent compound but malathion was the least potent compound tested. When we compared the susceptibility of 1 – day old unfed females to variety of insecticides, the results showed that An.(Cel.)dirus strain SEAD was the most susceptible to bioresmethrin and malathion while An.(Cel.) minimus strain Saraburi was the most susceptible to permethrin, propoxur, bendiocarb and fenitrothion. It is apparent that An.(Cel.) dirus strain SEAD (lab. Strains) was more susceptible to each insecticide than An.(Cel.) dirus Strain Lampang (field strain) Males were more susceptible to each insecticide than females (p > 0.05) except the test of malathion to An.(Cel.) minimus strain Saraburi showed that females were more susceptible than males (p > 0.05). When we compared the mortality rates of fed and unfed An. (Cel.) dirus SEAD females after they were exposed to permethrin, bendiocarb and fenitrothion, all 3 – day and 5 – day – old unfed, females showed higher mortality rates than the same age fed ones (p > 0.05). When we compared the averages of the mortality of the 3 – day and 5 – day – old fed females, the mortality rates were not different (p < 0.05) except for fenitrothion, 60 minutes exposure, where 5 – day – old, fed females showed higher mortality rates than 3-day –old ones (p > 0.05) When we compared the averages of the mortality of the 3-day and 5-day-old, unfed females, we could see an obvious difference between them when they got fenitrothion. The results showed that the average mortality of 5-day-old, unfed females was higher than that of 3-day –old ones. These results indicate that all three strains of Anopheles spp. are highly susceptible to the 6 tested insecticides. They may be used instead of DDT insecticide in the future but they should be thoroughly tested before being used in the field. | |
dc.format.extent | 652924 bytes | |
dc.format.extent | 323628 bytes | |
dc.format.extent | 503745 bytes | |
dc.format.extent | 459426 bytes | |
dc.format.extent | 993940 bytes | |
dc.format.extent | 321474 bytes | |
dc.format.extent | 296786 bytes | |
dc.format.extent | 1283153 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาความเป็นพิษของยาฆ่าแมลงทดแทนบางชนิดต่อยุงก้นปล่อง, Anopheles (Cellia) dirus และ An. (Cel.) minimus | en |
dc.title.alternative | Toxicological studies of some alternative insecticides on Anopheles (Cellia) dirus and An. (Cel.) minimus | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ชีววิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Smarn_Ka_front.pdf | 637.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch1.pdf | 316.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch2.pdf | 491.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch3.pdf | 448.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch4.pdf | 970.64 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch5.pdf | 313.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_ch6.pdf | 289.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Smarn_Ka_back.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.