Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหมาย ชอบอิสระ
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ จงวิศาล
dc.contributor.authorจิตติมนต์ พงษ์ประสิทธิ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-26T10:11:14Z
dc.date.available2012-11-26T10:11:14Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741741731
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26187
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองในห้องปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าแรงยึดเฉือนและสภาพการแตกหักภายหลังการทดสอบแรงยึดเฉือนของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดบ่มตัวด้วยแสงบนรอยผุจำลองระยะเริ่มแรกของฟันถาวร เมื่อใช้ระยะเวลาการกัดด้วยกรดแตกต่างกัน วิธีการดำเนินการวิจัย : ฟันกรามน้อยถาวรจำนวน 80 ซี่ เตรียมรอยผุจำลองในระยะเริ่มแรกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ม.ม. ที่ผิวเคลือบฟันด้านแก้ม ด้วยการแช่ชิ้นตัวอย่างในสารละลายที่ทำให้เกิดกระบวนการสูญเสียแร่ธาตุ (Carbopol demineralizing solution) ที่มีค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 5.0 นาน 8 วัน แบ่งชิ้นตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 20 ซี่โดยการสุ่ม จากนั้นยึดวัสดุเคลือบหลุมร่องฟัน (Delton ®) กับผิวรอยผุจำลองโดยใช้ระยะเวลาการกัดด้วยกรดในแต่ละกลุ่มนาน 5, 15, 30, และ 60 วินาที นำชิ้นตัวอย่างแช่ในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนำไปทดสอบแรงยึดเฉือนด้วยเครื่องทดสอบสากลอินสตรอน ด้วยความเร็วของหัวทดสอบ 0.5 ม.ม. ต่อนาที ผลการวิจัย : การทดสอบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าค่าแรงยึดเฉือนของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันบนรอยผุจำลองระยะเริ่มแรกเมื่อใช้ระยะเวลาการกัดด้วยกรด 5, 15, 30, และ 60 วินาที มีค่า 7.66 ± 1.41, 7.21± 1.86, 7.26 ± 2.22, และ 8.43 ± 1.38 เมกกะปาสคาล ตามลำดับ เมื่อทดสอบด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ผลการประเมินสภาพการแตกหักของวัสดุในทุกกลุ่มแบ่งเป็นสภาพการแตกหักแบบแอดฮีซีฟ แบบโคฮีซีฟในเคลือบฟัน และแบบผสม ในแต่ละกลุ่มมีการแตกหักแบบผสม มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 53.33, 61.11, 52.94 และ 60.00 ตามลำดับ สรุปผลการวิจัย : ระยะเวลาการกัดด้วยกรดที่ต่างกัน ไม่มีผลต่อแรงยึดเฉือนของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดบ่มตัวด้วยแสงบนรอยผุจำลองระยะเริ่มแรกของฟันถาวร
dc.description.abstractalternativeObjective : The purpose of this in vitro study was to compare the effect of different etching times on shear bond strength and mode of fracture of a light cured sealant, Delton ®, on artificial incipient caries lesions of permanent teeth. Materials and Methods : A 4 mm. diameter artificial lesion was created on each buccal surface of 80 premolars by Carbopol demineralizing solution for 8 days. The specimens were randomly divided into four groups of 20. After sealants ere placed on artificial lesions using different etching times i.e. 5, 15, 30, and 60 seconds, the specimens were immersed in distilled water at 37 C for 24 hours. Then, shear bond strengths were determined by Instron Univeral Testing Machine at a crosshead speed of 0.5 m.m./minute. Results : The mean and standard deviation of the shear bond strength of sealant on artificial incipient caries lesion with different etching time, 5, 15, 30, and 60 seconds, were 7.66 ± 1.41, 7.21± 1.86, 7.26 ± 2.22, and 8.43 ± 1.38 MPa respectively. Statistical analysis (One way ANOVA) revealed no significant difference (p>0.05) between the four groups. The mode of failure of all groups were categorized into 3 patterns i.e. adhesive failure, cohesive failure in enamel and mixed failure. Mixed failure was a predominant finding in each group (53.33%, 61.11%, 52.94%, and 60.00% respectively) Conclusion : Etching time did not effect the shear bond strength of a light cured sealant on artificial incipient caries lesion of permanent teeth.
dc.format.extent4995946 bytes
dc.format.extent4565763 bytes
dc.format.extent11862483 bytes
dc.format.extent6960632 bytes
dc.format.extent2963772 bytes
dc.format.extent8668164 bytes
dc.format.extent13083009 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบกำลังแรงยึดเฉือนของวัสดุเคลือบหลุมร่องฟันชนิดบ่มตัวด้วยแสงบนรอยผุจำลองระยะเริ่มแรกของฟันถาวร เมือใช้ระยะเวลาการกัดด้วยกรดต่างกันen
dc.title.alternativeComparative study of shear bond strength of a light cured sealant on artificial incipient caries lesion of permanent teeth using different etching timesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jittimon_po_front.pdf4.88 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_ch1.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_ch2.pdf11.58 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_ch3.pdf6.8 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_ch4.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_ch5.pdf8.47 MBAdobe PDFView/Open
Jittimon_po_back.pdf12.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.