Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวารี ถิระจิตร
dc.contributor.authorสันทัด อินทริกานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-26T13:19:31Z
dc.date.available2012-11-26T13:19:31Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745636355
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26228
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดจากการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ของครูประถมศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ด 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่ทำการสอนในชั้นที่ต่างกัน เกี่ยวกับปัญหาในการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือครูระดับประถมศึกษา ที่สอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 5 โรงเรียนละ 5 คน จำนวน 157 โรง รวมตัวอย่างประชากรทั้งสิ้น 785 คน แบบสอบถามได้รับคืนและตอบสมบูรณ์ครบถ้วน จำนวน 640 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 81.53 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามลักษณะมาตราส่วนประเมินค่าและแบบสอบถามปลายเปิด การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิตและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการวิจัย 1. ครูประถมศึกษาเลือกใช้วิธีสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต โดยใช้เพลงและเกมประกอบการสอนมากที่สุด เชิญวิทยากรจากท้องถิ่นมาบรรยายและจัดการศึกษานอกสถานที่เป็นวิธีที่ใช้น้อยที่สุด 2. ครูประถมศึกษามีปัญหาการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสอบการณ์ชีวิตในชั้นประถมศึกษาดังนี้ ปัญหาด้านการวัดผลและการประเมินผล ในระดับน้อย ปัญหาจากฝ่ายบริหาร ปัญหาด้านหลักสูตร ปัญหาด้านเอกสารประกอบหลักสูตรและคู่มือครู ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปัญหาด้านแบบเรียนและสื่อการเรียน ในระดับปานกลาง และปัญหาด้านผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน ในระดับมาก 3. ครูประถมศึกษาได้เสนอปัญหาเพิ่มเติม คือ ปัญหาแบบเรียนและอุปกรณ์การสอนไม่เพียงพอ ปัญหาหลักสูตรกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิดไม่เหมาะสมกับท้องถิ่น และปัญหาครูขาดความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. พิจารณาปัญหาในแต่ละด้านตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในแต่ละชั้นพบว่า ปัญหาด้านเอกสารประกอบหลักสูตรและคู่มือครู ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เห็นว่ามีปัญหาในระดับน้อย ครูชั้นอื่นเห็นว่ามีปัญหาในระดับปานกลาง ปัญหาด้านการวัดและประในผล ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 3 และ 4 เห็นว่ามีปัญหาในระดับน้อย ครูชั้นอื่นเห็นว่ามีปัญหาในระดับปานกลาง ปัญหาด้านผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 3 และ 5 เห็นว่ามีปัญหาในระดับมาก ครูชั้นอื่นเห็นว่ามีปัญหาในระดับปานกลาง ด้านการบริหาร หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน และด้านแบบเรียนและสื่อการเรียน ครูประถมศึกษาทุกชั้นเห็นว่ามีปัญหาในระดับที่ไม่แตกต่างกัน
dc.description.abstractalternativePurposes: The purposes of this research were; 1. To study the problems of teaching Life Experiences of elementary teachers in Changwat Roi-Et.2. To compare the opinions of teachers who tought various classes concerning the problems of teaching Life Experiences. Procedures:The samples of this research were 785 elementary teachers in Pratomsukas 1 to 5 who tought Life Experiences Course. The researcher gathered the data from 157 elementary schools. The 640 coppies of questionnaires or 81.53% were returned. The questionnaires were construted in the form of checklist, rating scale and open-ended. The data were analized by using percentage, arithmetic mean and standard deviation. Results: 1.The elementary teachers used mostly songs and games in teaching Life Experiences Course. They used the local resource persons and field trips the least. 2. The elementary teachers had problems in teaching Life Experiences Course as follows: the problems of the evaluation at the low level. The educational administration, the curriculum, the curriculum documents and teachers’ manuals, the teaching and learning activities, the teaching aids and textbooks at the average levels and the problems of the parent and communities at the high level. 3. The other problems in teaching Life Experiences Course were: the lack of textbooks and teaching manuals, the unsuitable of the contens of Life Experiences Curriculum and the teachers’ lack of skills in teaching. 4. The opinions were compared as follows : Pratomsuksa 1 teachers had problems in the curriculum documents and the teachers’ handbooks at the low level. The teachers in other classes had problems at the average level. Pratomsuksa 2, 3 and 4 teachers had problems in the evaluation at the low level. The teachers in other classes had problems at the average level. Pratomsuksa 1, 3 and 5 teachers had problems from the parents and communities at the high level. The teachers in other classes had problems at the average level. There were no differences among Pratomsuksa 1 to 5 teachers on the problems of the administration, the curriculum, the teaching and learning activities and the learning medias and textbooks.
dc.format.extent612255 bytes
dc.format.extent724497 bytes
dc.format.extent2156276 bytes
dc.format.extent474070 bytes
dc.format.extent2414928 bytes
dc.format.extent897827 bytes
dc.format.extent1214452 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปัญหาการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตในระดับประถมศึกษา : การศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดร้อยเอ็ดen
dc.title.alternativeProblems of teaching life experience at elementary level : a case study of Changwat Roi-eten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Santad_In_front.pdf597.91 kBAdobe PDFView/Open
Santad_In_ch1.pdf707.52 kBAdobe PDFView/Open
Santad_In_ch2.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Santad_In_ch3.pdf462.96 kBAdobe PDFView/Open
Santad_In_ch4.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Santad_In_ch5.pdf876.78 kBAdobe PDFView/Open
Santad_In_back.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.