Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26250
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต
dc.contributor.authorสวาท เส้นทอง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-26T13:40:15Z
dc.date.available2012-11-26T13:40:15Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745671128
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26250
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร โดยนักเรียนเป็นผู้กำหนดเงื่อนไขการเสริมแรงด้วยตนเองและครูเป็นผู้กำหนดเงื่อนไขการเสริมแรงให้ต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนบวกและลบเลขของเด็กปัญญาอ่อนที่สามารถเรียนได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปัญญาวุฒิกร จำนวน 9 คน ทุกคนสามารถอ่านตัวเลข หยิบสิ่งของให้มีจำนวนเท่ากับตัวเลขได้ตั้งแต่ 0 – 30 และทำแบบทดสอบการบวกและลบเลขที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองได้ไม่เกิน 5 ข้อ นักเรียนทั้ง 9 คน ถูกสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน การวิจัยนี้ใช้การทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง โดยการทดลองเป็นคู่ กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองได้รับการสอนด้วยวิธีเดียวกันโดยครูคนเดียวกัน กลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มจะได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรต่อการตอบคำถามและการทำแบบฝึกหัดการบวกและลบเลขได้ถูกต้อง โดยกลุ่มทดลอง 1 นักเรียนเป็นผู้กำหนดจำนวนเบี้ยที่นักเรียนต้องการจะได้รับด้วยตนเอง ส่วนกลุ่มทดลอง 2 ครูเป็นผู้กำหนดจำนวนเบี้ยที่นักเรียนจะได้รับ โดยให้จำนวนเบี้ยเท่ากับจำนวนเบี้ยที่นักเรียนในกลุ่มทดลอง 1 กำหนดไว้ และกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการเสริมแรงหลังจากสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยทดสอบเพื่อวัดสัมฤทธิผลทางการเรียนบวกและลบเลขของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์วามแปรปรวนทางเดียว แล้วทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลปรากฏว่านักเรียนในกลุ่มทดลองทั้ง 2 กลุ่มมีสัมฤทธิผลทางการเรียนแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 กล่าวคือนักเรียนในกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มมีสัมฤทธิผลทางการเรียนบวกและลบเลขสูงกว่ากลุ่มควบคุม แต่สัมฤทธิผลทางการเรียนบวกและลบเลขของนักเรียนในกลุ่มทดลองทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the effects of reinforcement through token economy as determined by students and by teachers on adding and subtracting of educable mentally retarded children in Prathomsuksa one of Panyavuthikorn school. All subjects could read numbers, pick things to match numbers from one to thirty; they did not pass more than five items on an adding and subtracting test. They were randomly assigned to two experimental groups and a control group. Each group included 3 persons. This study used the pre-post test control group and yoked experimental design. All groups were thaught through the same method and by the same teacher. Both experimental groups were reinforced by token economy for correct answers and correct performance on an exercise. The number of tokens in the 1 st group was determined by the students. The number of tokens in the 2 nd group was determined by the teacher and was equal to the number selected by the 1 st group. There was no reinforcement in the control group. In the end of this study all subjects were tested by an achievement test to measure adding and subtracting. The data were analyzed through the one way analysis of variance and scheffe test for all possible comparisons. Result indicated differences significant at the .01 level on achievement of both experimental groups and the control group. Both experimental groups rank higher than the control group on the achievement test but there is no significant difference between the two experimental groups.
dc.format.extent429442 bytes
dc.format.extent1193608 bytes
dc.format.extent479065 bytes
dc.format.extent409106 bytes
dc.format.extent430681 bytes
dc.format.extent382306 bytes
dc.format.extent508847 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรโดยนักเรียนเป็นผู้กำหนดเงื่อนไขเอง และครูเป็นผู้กำหนดเงื่อนไขต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนบวก และลบเลยของเด็กปัญญาอ่อนที่สามารถเรียนได้en
dc.title.alternativeEffects of reinforcement through token economy as determined by students and by teachers on adding and subtraciting of educable mentally retraded childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sawast_Se_front.pdf419.38 kBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_ch1.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_ch2.pdf467.84 kBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_ch3.pdf399.52 kBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_ch4.pdf420.59 kBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_ch5.pdf373.35 kBAdobe PDFView/Open
Sawast_Se_back.pdf496.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.