Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑา มนัสไพบูลย์
dc.contributor.authorเฉลิมภัทร พงศ์อาจารย์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-27T03:39:15Z
dc.date.available2012-11-27T03:39:15Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741743378
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26327
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบ และวิธีการในการบริหารและการจัดสรรทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีก่อนและหลังการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และเพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพการบริหารและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น วิธีดำเนินการวิจัยใช้ระเบียบวิจัยเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เอกสาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และแบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย และวิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน สามารถผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การบริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระ และมีอำนาจในการบริหารงานของตนเองมากขึ้น ทำให้มีการปรับโครงสร้างการบริหารงาน เกิดการกระจายอำนาจการตัดสินใจและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่สลับซับซ้อน 2. การบริหารงานด้านวิชาการ การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐมีส่วนช่วยส่งเสริมการผลิตงานวิจัยทั้งในด้านปริมาณ คุณภาพ เนื่องจากมีการปรับระเบียบให้การบริหารงานและระเบียบการบริหารงานบุคคล รวมถึงการมีปัจจัยสนับสนุนคือสวนอุตสาหกรรม 3. การบริหารงานการเงินและทรัพย์สินมหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาแหล่งรายได้ดีขึ้น โดยเฉพาะจากการให้บริการทางวิชาการและการวิจัย มหาวิทยาลัยมีระบบ ระเบียบในการบริหารงบประมาณ การเงิน และบัญชีของตนเอง ทำให้เกิดความคล่องตัวในการใช้จ่ายมากขึ้น อย่างไรก็ดีความมั่นคงทางการเงินของมหาวิทยาลัยยังเพิ่มขึ้นไม่มากนัก และมีรายจ่ายด้านบุคลากรที่สูงมาก 4. การบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยมีอิสระในการบริหารงานบุคคล โดยระเบียบหลักเกณฑ์เป็นของตนเอง และบุคลากรมีประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้น 5. ปัญหาและอุปสรรคของการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ คือ การปรับแนวคิดพฤติกรรมการทำงานของบุคลากร และการสนับสนุนจากรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare King Monkut Technology University’s administrative modification and resources allocation before and after develop itself to be an autonomous university. The procedures of the research were studying the related documents and researches, the interviewing of the administrators and the questionnaires from officers and students in the university. The collected data were analyzed by percentage, multiple correlations and multiple regression analysis. The research results were as follows: 1. Autonomous university has more freedom and authority. It changed administrative model make it implement administrative decentralization system. 2. The university contribution the researches in quality and quantity by regulate rules and have a support option that is The Industrial Park. 3. Autonomous university has developed resources of income, especially from the research and the academic service. The university has it own Budget and Assets System that make the flexibility in expense but the stability have not changed so much and the university have expended so much budget in personnel expense. 4. Autonomous university has more freedom in The Personnel Administration. The effectiveness of personnel has increased. 5. Autonomous university has the prefix in adjust personnel’s thought and behavior, and the support from the government.
dc.format.extent6068801 bytes
dc.format.extent4877087 bytes
dc.format.extent36874087 bytes
dc.format.extent2663408 bytes
dc.format.extent47877333 bytes
dc.format.extent5877207 bytes
dc.format.extent34834725 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการบริหารและจัดสรรทรัพยากรของสถาบันอุดมศึกษาก่อนและหลังการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีen
dc.title.alternativeA comparison of administration and resource allocation before and after being an autonomous University : a case Study of King Mongkut's University of Technology Thonburien
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermpat_po_front.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_ch1.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_ch2.pdf36.01 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_ch3.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_ch4.pdf46.76 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_ch5.pdf5.74 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpat_po_back.pdf34.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.