Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26702
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐนิภา คุปรัตน์ | - |
dc.contributor.author | สาโรช ไชยรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T10:30:33Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T10:30:33Z | - |
dc.date.issued | 2527 | - |
dc.identifier.isbn | 9745634271 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26702 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อสร้างเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สมมติฐานการวิจัย ความคิดเห็นของกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนข้าราชการครูในคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด ที่มีต่อรายการประเมินพื่อสร้างเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาไม่แตกต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างประชากรในการวิจัย ได้แก่ ผู้อำนวยการการประถมศึกษาจังหวัดจำนวน 73 คน ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 146 คน และผู้แทนข้าราชการครูในคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดจำนวน 219 คน จำนวนแบบสอบถามที่ส่งไป 438 ฉบับ ได้รับกลับคืนมา 318 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 72.60 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบ ( Check – list ) แบบประมาณค่า ( Rating Scale) และแบบสำรวจความคิดเห็นลำดับความสำคัญของงานการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานและ F – test ผลการวิจัย ผลการวิจัยเรื่องเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ สรุปได้ดังนี้ 1. ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 3 กลุ่ม ไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญที่ .01 2. กลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 3 กลุ่มมีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่งกับรายการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาทั้ง 118 ข้อ ดังนั้น รายการประเมินทุกข้อจึงสามารถนำไปสร้างเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาได้ 3. ในการจัดลำดับความสำคัญของการบริหารงานด้านต่าง ๆ ของผู้ริหารโรงเรียนประถมศึกษานั้น กลุ่มตัวอย่างประชากรจัดลำดับความสำคัญตามลำดับ ดังนี้ 1) การบริหารงานวิชาการ 2) การบริหารงานบุคลากร 3) การบริหารงานธุรการ การเงินและพัสดุ 4) การบริหารงานกิจการนักเรียน 5) การบริหารงานอาคารสถานที่ 6) การบริหารงานความสัมพันธ์กับชุมชน | - |
dc.description.abstractalternative | Purpose :To construct the evaluative criteria for job performance of the elementary school administrators. Hypothesis : The opinions of the Directors of the Provincial Primary Education Office (DPPEO.), experts and the teachers’ representatives in the Commission are not significantly different at the .01 level. Procedure : The sampling groups were composed of 73 DPPEO., 149 experts and 219 teachers’ representatives in the Commission. 438 copies of the questionnaires were distributed and 318 (72.60%) were returned. The research instrument was a questionnaire in the form of checklist, rating scale and ranking concerning the respondents’ status and the evaluative criteria for job performance of the elementary school administrators. The data were analyzed in terms of percentage, means, standard deviation and F-test. Findings and Conclusion : 1. The opinions of the three sample groups concerning the evaluative criteria for job performance of the elementary school administrators were not significantly different (at the .01 level) 2. The opinions of the three sample groups were at agree level and the most agree level in all the 118 items of the evaluative criteria for job performances of the elementary school administrators. So all these items can be developed the evaluative criteria for job performance of the elementary school administrators. 3. In ranking the priority of the administrative tasks of the elementary school administrators, the opinions of the three sample groups were ranked as follows : 1) academic affairs 2) personnel management 3) general administrations, school finance and equipments 4) student activities 5) school plant management 6) school community relations. | - |
dc.description.abstractalternative | โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร | - |
dc.format.extent | 499853 bytes | - |
dc.format.extent | 458658 bytes | - |
dc.format.extent | 1151282 bytes | - |
dc.format.extent | 364284 bytes | - |
dc.format.extent | 1931574 bytes | - |
dc.format.extent | 1260672 bytes | - |
dc.format.extent | 846629 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การประเมินผลงาน | - |
dc.title | เกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ | en |
dc.title.alternative | Evaluative criteria for job performance of administrators in elementary schools under the auspices of the Office of the National Primary Education Commission | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Saroj_Ch_front.pdf | 488.14 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_ch1.pdf | 447.91 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_ch2.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_ch3.pdf | 355.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_ch4.pdf | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_ch5.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Ch_back.pdf | 826.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.