Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26906
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ คุณประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | เสน่ห์ เทียมดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-29T06:53:23Z | - |
dc.date.available | 2012-11-29T06:53:23Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741750048 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26906 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มิวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจสภาพ และปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน วิชาสุนทรียภาพของชีวิต ของอาจารย์ และ นักศึกษา สถาบันราชภัฎ ในด้าน 1)วัตถุประสงค์ของหลักสูตร/รายวิชา 2) เนื้อหาวิชา 3) วิธีการสอน 4) สื่อการสอน 5) การวัดผลและ การประเมินผล 6) ผู้สอน และผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างประชากร ที่ใช้ในการวิจัย คือ อาจารย์จำนวน 22 คน และนักศึกษา จำนวน 299 คน รวมทั้งสิ้น 321 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบนาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่ ร้อยละมัชฌิมาเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปสาระสำคัญของแต่ละด้าน แล้วบรรยายเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า มีดังนี้ 1. ด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร/รายวิชา มีสภาพอยู่ในระดับน้อย และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพของอาจารย์ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยน้อย คือ เพื่อนำประสบการณ์สุนทรียะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนสภาพของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในความเป็นมา และความสำคัญของฐานศาสตร์ทางการรับรู้ ทั้งสามด้าน คือ ทางการเห็น ทางการได้ยิน และทางการเคลื่อนไหว 2. ด้านเนื้อหาวิชา มีสภาพอยู่ในระดับปานกลาง และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพ ของอาจารย์ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ ความหมาย และความสำคัญของศาสตร์ทางความงาม ของสิ่งต่างๆ ทั้งตามธรรมชาติ และของผลงานศิลปะ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ส่วนสภาพของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ในระดับที่เท่ากัน มี 2 ข้อ คือ 1) ความหมาย และความสำคัญของศาสตร์ทางความงามของสิงต่างๆ ทั้ง ตามธรรมชาติ และ'ของผลงานศิลปะ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ 2) ความหมาย และความสำคัญของศิลปะ ที่สัมพันธ์กันทั้งสามด้าน คือ ทัศนศิลป์ ดนตรี และศิลปะการแสดง 3. ด้านวิธีการสอน มีสภาพอยู่ในระดับปานกลาง และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพของอาจารย์ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือมีการวางแผนร่วมกันระหว่างทีมผู้สอน กับผู้เรียน โดยให้สอดคล้องกับ หลักสูตร โครงการสอน และแผนการสอน ส่วนสภาพของนักศึกษา ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยน้อย คือ มีการวางแผนร่วมกันระหว่างทีมผู้สอน กับผู้เรียน โดยให้สอดคล้องกับหลักสูตร โครงการสอน และแผนการสอน 4. ด้านสื่อการสอน มีสภาพอยู่ในระดับน้อย และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพของอาจารย์ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ในระดับที่ เท่ากัน มี 2 ข้อคือ 1) ใช้สื่อการสอน ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ และ 2) ใช้สื่อการสอน เพื่อให้เร้าความสนใจ และชวนให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ ส่วนสภาพของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ มีการเตรียมความพร้อมของสื่อการสอน และนำมาใช้ได้อย่างเหมาะสม กับสภาพแวดล้อมของห้องเรียน 5. ด้านการวัดผล และการประเมินผล มีสภาพอยู่ในระดับน้อย และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพของอาจารย์ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ มีลัดส่วนคะแนน และมีเกณฑ์มาตรฐานในการพิจารณาเป็นค่าระดับคะแนน ส่วน สภาพของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา 6. ด้านผู้สอน และผู้เรียนมีสภาพอยู่ในระดับน้อย และมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง สภาพของอาจารย์ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือ ผู้สอนมีความเข้าใจ ให้การสนับสนุน และให้กำลังใจแก่ผู้เรียน ส่วน สภาพของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย คือผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ปัญหาของอาจารย์ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ผู้สอนมีความเมตตากรุณา และเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่วน ปัญหาของนักศึกษา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ผู้สอนมีความฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบ เพื่อแก้ปัญหาที่ไม่คาดคิดมาก่อน | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study state and problems concerning the instruction of Aesthetic Appreciation of instructors and students in Rajabhat Institutes; consisting of 6 domains: 1) Objective of Curriculum 2) Course Content 3) Teaching Method 4) Teaching Media 5) Measurement and Evaluation 6) Teachers and Students. The samples were 22 instructors and 299 students, which made the total of 321. The research instruments were questionnaires and interviews. The data were analyzed by percentage, means and standard deviation; and summarized the main contexts by describing in written statements. The results of research were found as follow ; 1. Objective of Curriculum: State was rated at the low level, and problems were rated at the moderate level. State of instructors: The low average was the students’ application of aesthetic appreciation into the daily life. State of students: The low average were the knowledge and understanding of history, and the importance of perceptions which included the art of visual image, sound, and movement. 2. Course Content: State was rated at the moderate level, and problems were rated at the moderate level. State of instructors: The low average was the meanings and importance of beauty of everything in nature, and the work of art that related to daily life. State of students: One of the low averages was the same as instructors’, and the other one was the meanings and importance of art which related to the three domains of Visual Arts, Musical Arts, and Performing Arts. 3. Teaching Method: State was rated at the moderate level, and problems were also rated at the moderate level. State of instructors: The low average was the team teaching planing - the relationship between curriculum teaching projects and lesson plan. State of students: The low average was the same as the one of instructors'. 4. Teaching Media: State was rated at the low level, and problems were rated at the moderate level. State of instructors: The two low averages were 1) The suitability between teaching media and contents or learning activity, and 2) Using the teaching media to motivate and invite students to learn, state of students: The low average was the preparation of teaching media in order to enhance the class environment. 5. Measurement and Evaluation: State was rated at the low level, and problems were rated at the moderate level, state of instructors: The low average was the standard criteria for evaluating and mark ranking, state ๙ student: The low average was the suitability with Objective of Curriculum. 6. Teachers and Students: State was rated at the low level, and problems were rated at the moderate level, state of instructors. The low average was the understanding, attention, and kindness from teachers, state of students: The low average was the student training for being in disciplines, having responsible, and working with other people. Problems of instructors: The high average was the teachers’ individual kindness and care taking to each student. Problems of students: The high average were the teachers’ wisdom and intelligence to visualize and solve the sudden problems. | - |
dc.format.extent | 2801577 bytes | - |
dc.format.extent | 6995786 bytes | - |
dc.format.extent | 47189094 bytes | - |
dc.format.extent | 1609316 bytes | - |
dc.format.extent | 8728022 bytes | - |
dc.format.extent | 14638609 bytes | - |
dc.format.extent | 11905475 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | สภาพและปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาสุนทรียภาพของชีวิต ของอาจารย์ และนักศึกษาสถาบันราชภัฏ | en |
dc.title.alternative | State and problems concerning the instuction of aesthetic appreciation of instructors and students in Rajabhat institutes | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ศิลปศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Saneh_te_front.pdf | 2.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_ch1.pdf | 6.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_ch2.pdf | 46.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_ch3.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_ch4.pdf | 8.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_ch5.pdf | 14.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saneh_te_back.pdf | 11.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.