Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ-
dc.contributor.authorหฤษฎ์ ธิตินันทน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T08:48:46Z-
dc.date.available2012-11-29T08:48:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741735464-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26966-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractงานวิจัยเป็นศึกษาโดยนำซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์เป็นวัสดุแทนที่ในซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เพื่อผลิตคอนกรีตบล็อกประสานปูพื้น โดยทำการทดลองศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มี ผลกระทบต่อกระบวนการทำก้อนแข็ง ตลอดจนลักษณะทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของวัสดุ เช่น องค์ประกอบ ดัชนีความเป็นปอซโซลาน การกระจายขนาดอนุภาค รวมถึงสมบัติทั่วไปของ ก้อนตัวอย่างคอนกรีต ได้แก่ ค่ากำลังรับแรงอัด และความหนาแน่น สภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิต คอนกรีตบล็อกประสานปูพื้นศึกษาโดยแปรค่าสัดส่วนวัสดุผสมเป็น 2 3 5 8 10 และ 11 เท่าโดย นาหนักของวัสดุประสาน บ่มที่ระยะเวลา 7 และ 28 วัน และแปรค่าอัตราส่วนซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้ แล้วสถานะต่างๆ ต่อวัสดุประสาน เป็น 0.05 0.10 0.15 0.25 และ 0.35 ที่ระยะเวลาบ่ม 7 14 21 และ 28 วัน เพื่อศึกษาสัดส่วนที่เหมาะสมในการแทนที่ของเสียในซีเมนต์ โดยใช้อัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.5 ตลอดการทดลอง ผลการศึกษาพบว่าความสามารถทำงานได้ของคอนกรีตสด ลดลงตามสัดส่วนการเพิ่มขึ้นของวัสดุผสมและอัตราส่วนซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วต่อวัสดุประสาน โดยสัดส่วนซีเมนต์ต่อทรายต่อหินเกล็ดที่เหมาะสมต่อการผลิตคอนกรดบล็อกประสานปูพื้น คือ 1:1.2:1.8 และการบดซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วให้มีขนาดอนุภาคเล็กกว่า 150 ไมครอนโดยไม่ จำเป็นต้องเผาจะทำให้ได้วัสดุที่มีความเหมาะสมที่สุด เนื่องจากสามารถแทนที่ซีเมนต์ได้ในปริมาณ มากขึ้น โดยที่สภาวะเหมาะสมต่อการผลิตสามารถแทนที่ซีเมนต์ด้วยซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วขนาด อนุภาคเล็กกว่า 150 ไมครอนได้ไนสัดส่วน 0.15 เท่าของวัสดุประสาน ทำให้คอนกรีตบล็อก ประสานปูพื้นมีสมบัติทางกายภาพที่ระยะเวลาบ่ม 28 วัน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์คอนกรีต บล็อกประสานปูพื้นของกระทรวงอุตสาหกรรม โดยคอนกรีตบล็อกปูพื้นที่กล่าวข้างด้นมีราคา 2.74 บาทต่อก้อนผลิตภัณฑ์น้ำหนัก 4.40 กิโลกรัม-
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the utilization of spent silica-alumina as partial cement replacement for production of interlocking concrete paving block. The experiments were performed to determine factors affecting solidification process. Physical characteristics and chemical properties such as chemical composition, pozzolanic index, and particle size distribution were obtained as same as the general properties of concrete specimen such as compressive strength and density. The appropriate condition for making concrete paving blocks was studied by varying fraction by weight of aggregate to binder equivalent to 2, 3, 5, 8, 10 and 11 at 7 and 28 days of curing. The varying of spent silica-alumina to binder at 0.05, 0.10, 0.15, 0.25 and 0.35 was performed at curing time of 7, 14, 21 and 28 days as a propose to study the suitable ratio of waste replacement in cement by using water-cement ratio equivalent to 0.5 for the entire experiment. The results indicated that by increasing the ratio of aggregate to binder and spent silica-alumina to binder, consequently, decreasing of fresh concrete’s workability. A proper ratio of cement: sand: gravel for making concrete paving block was 1:1.2:1.8 and grinding of spent silica-alumina, which particle size smaller than 150 microns, without burning is the most suitable material due to higher substation. The appropriate cement replacement with SA100 .UNT was 0.15 of binder, at curing time of 28 days yielded physical properties acceptable by the standard of interlocking concrete paving blocks promulgated by the Ministry of Industry. The cost estimation of the aforementioned concrete paving block was 2.74 baht per 4.40 kilograms of product.-
dc.format.extent4980964 bytes-
dc.format.extent988628 bytes-
dc.format.extent15215859 bytes-
dc.format.extent3590596 bytes-
dc.format.extent13374071 bytes-
dc.format.extent1075229 bytes-
dc.format.extent598331 bytes-
dc.format.extent14410050 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการนำซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วไปใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตคอนกรีตบล็อกen
dc.title.alternativeUtilization of spent silica-alumina for making concrete blocken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Harit_th_front.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch1.pdf965.46 kBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch2.pdf14.86 MBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch3.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch4.pdf13.06 MBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch5.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Harit_th_ch6.pdf584.31 kBAdobe PDFView/Open
Harit_th_back.pdf14.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.