Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกนกวรรณ เสรีภาพ-
dc.contributor.authorรุ่งนภา อินทปิ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-30T02:49:14Z-
dc.date.available2012-11-30T02:49:14Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741769172-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการใช้แคลเลียมคลอไรด์รักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.05, 0.5, 1.0, 2.0 และ 3.0 โดยการแช่เป็นเวลา 10 นาที ก่อนนำไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส พบว่าผลเงาะที่แช่ในแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.05 สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลเงาะได้ดีที่สุด โดยชะลอการสูญเสียน้ำหนักสด การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำในเปลือกและเนื้อเงาะได้ และมีปริมาณสารประกอบฟีนอลคงเหลือมากที่สุด และแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้นข้นร้อยละ 1.0 ช่วยลดการรั่วไหลของไอออนออกจากเนื้อเยื่อในส่วนเปลือกได้ ส่วนการใช้ไคโตซานรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน ที่ระดับความเข้มข้น 5, 10, 20, 50 และ 100 ppm โดยการแช่เป็นเวลา 10 นาที พบว่าผลเงาะที่แช่ในสารละลายไคโตซานที่ระดับความเข้นข้น 20 ppm สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลเงาะได้ดีที่สุด ช่วยชะลอการสูญเสียน้ำหนักสดของผลเงาะ การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำในส่วนเปลือก การรั่วไหลของไอออนออกจากเนื้อเยื่อในส่วนเปลือก และมีปริมาณสารประกอบฟีนอลคงเหลือมากที่สุด หลังจากนั้นนำสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.05 มาใช้ร่วมกับสารละลายไคโตซานที่ระดับความเข้มข้น 5 และ 20 ppm พบว่าสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.05 ร่วมกับสารละลายไคโตซานที่ระดับความเข้มข้น 5 ppm สามารถชะลอการสูญเสียน้ำหนักสดและการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำในเปลือกเงาะได้ ส่วนสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.05 ร่วมกับสารละลายไคโตซานที่ระดับความเข้มข้น 5 และ 20 ppm สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงสีเปลือกและสีขนไปเป็นสีน้ำตาลได้โดยไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้มร้อยละ 0.05 ร่วมกับสารละลายไคโตซานที่ระดับความเข้มข้น 20 ppm ช่วยลดอัตราการหายใจของผลเงาะได้ โดยมีอัตราการหายใจต่ำสุดในวันที่ 12 ของการเก็บรักษา-
dc.description.abstractalternativeEffects of postharvest calcium chloride (CaCl2) and chitosan treatments on physiological response and storage life of rambutan (Nephelium lappaceum L. cv. RONGRIAN) fruits were investigated. Rambutan fruit were dipped in 0.05%, 0.5%, 1.0%, 2.0% and 3.0% CaCl2⦁2H2O (w/v) solution for 10 minutes, then stored at 13 ℃. It was found that 0.05% CaCl2 can prolong the postharvest quality of rambutan indicated by less browning of spinterns and peel compared to control. In addition, treatment with 0.05% CaCl2 maintained higher total phenolics, reduced weight loss and water content in peel and pulp. Treatment with 1.0% CaCl2 reduced ion leakage dramatically during cold storage. Postharvest treatment of rambutan fruits with 5, 10, 20, 50 and 100 ppm chitosan solution for 10 minutes and then stored at 13๐C was evaluated. Treatment of 20 ppm chitosan reduced weight loss, changed of water content in peel, ion leakage and maintained higher total phenolics. Combined application of 0.05% CaCl2⦁2H2O (w/v) solution and 5, 20 ppm chitosan solution for 10 minutes and then stored at 13 ℃ was further tested. Treatment of 0.05% CaCl2 and 5 ppm chitosan increased storage life of rambutan fruits to 12 days and significantly reduced weight loss and loss of water content in peel. Combined treatment of 0.05% CaCl2 and 20 ppm chitosan decreased rate of respiration.-
dc.format.extent4563172 bytes-
dc.format.extent1353708 bytes-
dc.format.extent7649059 bytes-
dc.format.extent2274034 bytes-
dc.format.extent22288450 bytes-
dc.format.extent2718667 bytes-
dc.format.extent1012401 bytes-
dc.format.extent14592783 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการใช้แคลเซียมคลอไรด์และไคโตซานรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน Nephelium lappaceum L. cv. Rongrianen
dc.title.alternativeUse of calcium chloride and chitosan to maintain postharvest quality of rumbutan fruit Nephelium lappaceum L. cv. Rongrianen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพฤกษศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungnapa_in_front.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch1.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch2.pdf7.47 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch3.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch4.pdf21.77 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch5.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_ch6.pdf988.67 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_in_back.pdf14.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.