Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27104
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุดาพร ลักษณียนาวิน | |
dc.contributor.author | สุกัลยา สุรินทร์ไพบูลย์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-30T03:23:18Z | |
dc.date.available | 2012-11-30T03:23:18Z | |
dc.date.issued | 2528 | |
dc.identifier.isbn | 9745648442 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27104 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 | en |
dc.description.abstract | ในภาษาไทยคำสามัญ 3-4 พยางค์จะมีพยางค์หนักเป็นเอกที่พยางค์สุดท้ายของคำ การกำหนดตำแหน่งของพยางค์หนักเป็นโทขึ้นอยู่กับโครงสร้างพยางค์ของ 2 พยางค์แรกของคำว่าเป็นพยางค์เชื่อมหรือไม่เชื่อม ในกรณีที่เป็นพยางค์เชื่อมทั้งคู่หรือมีพยางค์ใดพยางค์หนึ่งเป็นพยางค์เชื่อมได้มีผู้ศึกษากำหนดพยางค์หนักเป็นโทไว้แล้ว แต่ในกรณีที่เป็นพยางค์ไม่เชื่อมทั้งคู่ยังไม่มีผู้ใดได้ศึกษาไว้ วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาว่า โครงสร้างพยางค์ของพยางค์ไม่เชื่อมที่แตกต่างกัน จะมีอิทธิพลต่อการกำหนดตำแหน่งของพยางค์หนักหรือไม่โดยกำหนดให้พยางค์ไม่เชื่อมมีลักษณะแตกต่างกันดังต่อไปนี้คือ เป็นพยางค์เปิดกับพยางค์ปิด พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ กับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก พยางค์ที่มีสระสูงกว่ากับพยางค์ที่มีสระต่ำกว่า ในการวิจัยนี้ได้ให้ผู้บอกภาษาชาวไทยกรุงเทพฯ จำนวน 5 คน อ่านค่าทดสอบที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้นรมทั้งสิ้น 201 คำ คำละ 2 ครั้ง รวมจำนวนคำที่จะนำมาวิเคราะห์ทั้งสิ้น 2010 คำ ในการวิเคราะห์พบการลงเสียงหนักที่พยางค์เชื่อมซึ่งแตกต่างกันและนำผลมาเปรียบเทียบอัตราส่วนกันได้ดังนี้คือ ระหว่างพยางค์เปิดกับพยางค์ปิดเท่ากับ 7:191 คำ ระห่างพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิกเท่ากับ 0:355 คำ ระหว่างพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ เท่ากับ 9:266 คำ ระหว่างพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ กับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิกเท่ากับ 37:176 คำ ระหว่างพยางค์ที่มีสระสูงกว่ากับพยางค์ที่มีสระต่ำกว่าเท่ากับ 97:73 คำ ผลการวิเคราะห์นี้นำไปสู่ข้อสรุปในการเสนอกตำแหน่งของพยางค์หนักเป็นโทในคำสามัญ 3-4 พยางค์ที่มีโครงสร้างพยางค์ของ 2 พยางค์แรกเป็นพยางค์หนักไม่เชื่อมได้ดังนี้คือ 1. ระหว่างพยางค์เปิดกับพยางค์ปิด ตำแหน่วของพยางค์หนักจะได้แก่ พยางค์ปิด 2. ระหว่างพยางค์ปิดดด้วยหน่ยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก ตำแหน่งของพยางค์หนักจะได้แก่ พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก 3. ระหว่างพยางค์ปิดดด้วยหน่ยเสียงกักเส้นเสียงกับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ ตำแหน่งของพยางค์หนักจะได้แก่พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ 4. ระหว่างพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงกักอื่นๆ กับพยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก ตำแหน่งของพยางค์หนักจะได้แก่ พยางค์ที่ปิดด้วยหน่วยเสียงนาสิก ส่วนกรณีที่พยางค์เชื่อมแตกต่างกันที่มีคุณลักษณะของสระสูงต่ำต่างกันนั้น ไม่สามารถจะกำหนดตำแหน่งของพยางค์หนักได้ | |
dc.description.abstractalternative | The primary accented Syllables in monomorphemic trisyllabic and tetrasyllabic Thai words are the final syllables. Secondary accent assignment is determined by the structure of the first two syllables of the words, i.e. whether it is a linker or a non-linker syllable. Post studies have determined accent assignment rules for words of which the first two syllables are linker syllables or a combination between a linker and a non-linker syllable. There has been no study of accent assignment for words which have non-linker syllables as the first two syllables. Attempt has been made in this thesis to find out whether the different syllable structures of the non-linker syllable have any influence on secondary accent assignment. The non-linker syllables considered in this study very as follows : open syllables and closed syllables; syllables closed with glottal stop and syllables closed with nasals; syllables closed with glottal stop and syllables closed with other stop; syllables closed with other stops and syllables closed with nasals; syllables with relatively higher vowels and syllables with relatively lower vowels. The phonetic analysis of the patterns of stressed syllable in these words is based on the pronounciation of 5 subjects, reading the 201 test words twice, given total of 2010 tokens to be phonetically analysis. The occurrence of stress on variant non-linker syllables is given in ratios as follow: open syllables and closed syllables, 7:191; syllables closed with glottal stop and syllables closed with nasals, 0:355; syllables closed with glottal stop and syllables closed with other stops, 9:226; syllables closed with other stops and syllables closed with nasals, 37:176; higher vowel syllables and lower vowel syllables, 97:73. These stress patterns found in the 2010 tokens lead to the postulation of accent assignment rules in simple trisyllabic and tetrasyllabic words of which the first two syllables are non-linker syllables as follows: 1. Secondary accent is on the closed syllables when the variant syllables are open syllables and closed syllables 2. Secondary accent is on the syllables closed with nasal consonants when the variant syllables are syllables closed with glottal stop and syllables closed with nasal consonants. 3. Secondary accent is on the syllables closed with other stops consonants when the variant syllables closed with glottal stops and syllables closed with other stops 4. Secondary accent is on the syllables closed with nasal consonants when the variant syllables are syllables closed with other stops and syllables closed with nasals. When the variant syllable differ in vowel quality, the occurrence of stress on variant syllables is not significantly different. Accent assignment rules cannot be postulated in this respect. | |
dc.format.extent | 596167 bytes | |
dc.format.extent | 1234658 bytes | |
dc.format.extent | 645746 bytes | |
dc.format.extent | 5328756 bytes | |
dc.format.extent | 338469 bytes | |
dc.format.extent | 311809 bytes | |
dc.format.extent | 632871 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ระบบพยางค์หนักเบาของคำหลายพยางค์ในภาษาไทย | en |
dc.title.alternative | The accentual system of polysyllabic words in Thai | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ภาษาไทย | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sukanlaya_Su_front.pdf | 582.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_ch1.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_ch2.pdf | 630.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_ch3.pdf | 5.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_ch4.pdf | 330.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_ch5.pdf | 304.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sukanlaya_Su_back.pdf | 618.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.