Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช
dc.contributor.authorสุกัญญา ศรีสุขวัฒน์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T04:51:49Z
dc.date.available2012-11-30T04:51:49Z
dc.date.issued2520
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27166
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อเรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบด้วยวิธีใช้และไม่ใช้ศูนย์การเรียน ตัวอย่างประชากรประกอบด้วยนักเรียน 2 กลุ่มๆ ละ 45 คน นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ประจำภาคต้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 จากนั้นผู้วิจัยได้ทำการทดลองสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบด้วยวิธีใช้ศูนย์การเรียนในกลุ่มทดลองที่หนึ่งและด้วยวิธีที่ครูและนักเรียนช่วยกันถามโดยใช้การสาธิตประกอบในกลุ่มทดลองที่สอง โดยสอนเรื่อง “ธรรมชาติของน้ำ” เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ๆ ละ 3 คาบ ผู้วิจัยได้แบ่งเนื้อหาของบทเรียนออกเป็น 4 หน่วย เมื่อจบบทเรียนแต่ละหน่วย นักเรียนทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจำหน่วย และเมื่อนักเรียนเรียนจบทั้ง 4 หน่วย นักเรียนทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง “ธรรมชาติของน้ำ” นำคะแนนที่ได้ของนักเรียนทั้งสองกลุ่มมาเปรียบเทียบมัชฌิมเลขคณิตและทดสอบความมีนัยสำคัญด้วยค่าที (t-test) ผลการวิจัย 1. นักเรียนกลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบด้วยวิธีใช้ศูนย์การเรียนและกลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบชนิดที่ครูและนักเรียนช่วยกันถามโดยใช้การสาธิตประกอบ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในเนื้อหาบทเรียนหน่วยที่ 1 และ 2 เรื่อง “คุณสมบัติทั่วไปของน้ำ” และ “วัฏจักรของน้ำ” 2. นักเรียนกลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบชนิดที่ครูและนักเรียนช่วยกันถามโดยใช้การสาธิตประกอบ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่า กลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบด้วยวิธีใช้ศูนย์การเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในเนื้อหาบทเรียนหน่วยที่ 3 และ 4 เรื่อง “องค์ประกอบของน้ำ” และ “น้ำอ่อนน้ำกระด้าง” 3. นักเรียนกลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบชนิดที่ครูและนักเรียนช่วยกันถามโดยใช้การสาธิตประกอบ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่า กลุ่มที่เรียนวิทยาศาสตร์แบบสืบสอบด้วยวิธีใช้ศูนย์การเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อนักเรียนเรียนจบบทเรียนเรื่อง “ธรรมชาติของน้ำ”
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research was to compare achievement in science learning of Mathayom suksa one students taught by using inquiry method with and without learning center technique. Two groups of students, 45 each, were chosen as sample for this study on the criteria that there were no significant differences in their first semester science achievement at the .05 level. One group was taught by using inquiry method with learning center technique, another group was taught by using combined inquiry method with demonstration technique. “Nature of Water” which divided into 4 units was taught continuously to both groups. Five different achievement tests were used to find the samples achievement in science after learning each unit and after learning the whole topic, “Nature of Water” The obtained data was computed means in order to test the hypothesis by using t-test. The results of this study were 1. There were no significant differences in science achievement between two groups of sample in the first two units (“the general property of water” and “water cycle”) at the .05 level. 2. The science achievement of the combined inquiry with demonstration group was higher than the inquiry with learning center group in the last two units (“the composition of water” and “the solf-hard water”) at the .05 level. 3. The achievement in learning science, “Nature of Water” of the combined inquiry with demonstration group was higher than the inquiry with learning center group at .05 level.
dc.format.extent460286 bytes
dc.format.extent395040 bytes
dc.format.extent1389329 bytes
dc.format.extent486190 bytes
dc.format.extent277063 bytes
dc.format.extent465789 bytes
dc.format.extent1940908 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ แบบสืบสอบชนิดที่ใช้และไม่ใช้ศูนย์การเรียนen
dc.title.alternativeA comparison of achievement in science learning using inquiry method with and without learning center techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukunya_Sr_front.pdf449.5 kBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_ch1.pdf385.78 kBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_ch2.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_ch3.pdf474.79 kBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_ch4.pdf270.57 kBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_ch5.pdf454.87 kBAdobe PDFView/Open
Sukunya_Sr_back.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.