Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์
dc.contributor.advisorเยาวดี วิบูลย์ศรี
dc.contributor.authorศรีศุกร์ ธัมพิบูลย์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T05:18:59Z
dc.date.available2012-11-30T05:18:59Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27174
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์ และเพื่อศึกษาความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ของดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มี 2 กลุ่ม คือ 1) ตัวอย่างพลวิจัยกลุ่มอาจารย์ผู้สอนวิชาด้านสิ่งแวดล้อม ในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ที่มีประสบการณ์การสอนอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา จำนวน 27 คน และ 2) ตัวอย่างพลวิจัยกลุ่มนิสิตนักศึกษา ได้แก่ นิสิตระดับปริญญาตรี ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา “สภาวะแวดล้อมของเรา” และนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของวิทยาลัยโยนกที่ลงทะเบียนเรียนวิชา “มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม” ในภาคต้น ปีการศึกษา 2539 จำนวน 127 และ 183 คน ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้สร้างเอง มี 3 ชนิด ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบของข้อสอบผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ ข้อสอบผลสัมฤทธิ์ในเนื้อหาเรื่อง “นิเวศวิทยาบนบก” องค์กรและกฎหมายสิ่งแวดล้อม” และ “โครงการพัฒนากับมาตรการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม” 2) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมชนิดของกลยุทธ์การคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กลยุทธ์ที่ใช้ในการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบ และ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการจำแนกกลุ่มผู้สอบตามความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ แบบสอบความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ข้อมูล ทำโดยการคำนวณความน่าจะเป็นของการเกิดกลยุทธ์ที่ใช้ในการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์ได้สำเร็จ ประมาณค่าพารามิเตอร์ของข้อสอบตามแบบจำลองการตอบสนองแบบแบ่งระดับ โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ MULTILOG และคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันระหว่างค่าดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์กับค่าพารามิเตอร์ของข้อสอบตามแบบจำลองการตอบสนองแบบแบ่งระดับโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS/PC ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ได้สูตรการคำนวณค่าดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์คือผลรวมของความน่าจะเป็นในการเกิดกลยุทธ์การคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบแต่ละข้อภายใต้ความน่าจะเป็นในการเกิดชุดของงานย่อยที่แตกต่างกันในแต่ละกลยุทธ์ 2. ดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์มีความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์กับค่าพารามิเตอร์ของข้อสอบตามแบบจำลองการตอบสนองแบบแบ่งระดับ
dc.description.abstractalternativeThe study of this research was to develop a complexity index for solving achievement test item and to study the criterion related validity of a complexity index for solving achievement test item. This research had two subject groups : 1) 27 environmental instructors in the Ministry of University Affairs and 2) 127 students from Chulalongkorn University who registered “Our Environment” course and 183 students from Yonok College who registered “Man and Environment” course during the 1996 first semester. The instruments used in data gathering comprised of 3 instruments which developed by the researcher : 1) the instrument for developing a complexity index for solving achievement test item was achievement test items for “Territorial Ecosystem”, “Environmental Law”, and “Developmental Project and Evaluational Impact Assessment” topics, 2) the instrument for gathering the strategies for solving achievement test item was an interview schedule, and 3) the instrument for classifying the basic environmental knowledge of the undergraduate students was the basic environmental test. The data were analyzed by computing the probability of solving achievement test item strategies, estimating item parameters of graded response model with MULTILOG computer program and computing pearson’s product-moment correlation coefficient between complexity index for solving achievement test item and item parameters of graded response model with SPSS/PC computer program. The results of this research were as follows : 1. The formula of computing the complexity index for solving achievement test item was the summation of the probability of solving problem strategies which composed of set of the probability of subtasks. 2. The complexity index for solving achievement test item had criterior-related validity with item parameters of graded response model.
dc.format.extent4325225 bytes
dc.format.extent3112451 bytes
dc.format.extent20485053 bytes
dc.format.extent10430497 bytes
dc.format.extent14892064 bytes
dc.format.extent4801805 bytes
dc.format.extent11732442 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาดัชนีความซับซ้อนของการคิดหาคำตอบสำหรับข้อสอบผลสัมฤทธิ์en
dc.title.alternativeThe development of a complexity index for solving achievement test itemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisook_ta_front.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_ch1.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_ch2.pdf20 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_ch3.pdf10.19 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_ch4.pdf14.54 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_ch5.pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open
Srisook_ta_back.pdf11.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.