Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27355
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ | - |
dc.contributor.author | วชิรวิทย์ นรอ่อน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2012-12-06T07:00:04Z | - |
dc.date.available | 2012-12-06T07:00:04Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27355 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาขีดความสามารถ (Capability) ในการต่อเรือและซ่อมเรือของกรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ และของอู่เรือเอกชนภายในประเทศ รวมถึงศึกษาสภาวะทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมการต่อเรือและซ่อมเรือของประเทศไทยในปัจจุบัน ได้แก่ ปริมาณความต้องการต่อเรือและซ่อมเรือ ราคาของเรือที่ต่อใหม่ รวมถึงต้นทุนในการต่อและซ่อมเรือ โดยจะนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความคุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ โดยใช้วิธีคำนวณทางเศรษฐศาสตร์การเงิน ด้วยวิธีไม่ทอนค่าเงิน และทอนค่าเงิน และใช้หลักการอนุมัติโครงการที่รัฐบาลกำหนด คือ รายได้ต้องสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ (R>8%) และมีระยะเวลาคืนทุนของโครงการต้องไม่เกิน 35 ปี เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถามที่ส่งไปยังผู้เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรรมต่อเรือและซ่อมเรือไทย จำนวน 60 ราย ผลการวิจัยพบว่า การคำนวณโดยวิธีไม่ทอนค่าเงิน พบว่า กรณีคิดผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์และกรณีคิดผลตอบแทนทางการเงิน มีอัตราผลตอบแทนภายในจากการลงทุนมากกว่า 8% ในทุกสภาพการณ์ ระยะเวลาคืนทุนมากที่สุดคือ 17 ปี ส่วนวิธีทอนค่าเงิน พบว่ากรณีคิดผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ สภาพการณ์เล็งผลเลิศ จะให้ผลตอบแทนลงทุนภายใน มีค่ามากกว่า 8% และเกือบทุกสภาพการณ์ ให้อัตราส่วนผลได้ต่อทุน ใกล้เคียงหรือมากกว่า 1% มูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าเป็นบวก ส่วนกรณีคิดผลตอบแทนทางการเงิน ให้ผลต่ำกว่าเล็กน้อยยกเว้นในสภาพการณ์ขีดความสามารถต่ำและต่ำมากที่ให้ค่าค่อนข้างน้อย ซึ่งเราต้องระวังไม่ให้เกิดขึ้นได้ ดังนั้น โครงการพัฒนาอู่เรือนี้จึงมีความคุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นที่ได้จากแบบสอบถามที่ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการพัฒนาขีดความสามารถของอู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ ในเชิงพาณิชย์ | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study the capability of ship building and ship repairing of the Naval Dockyard department, Royal Thai Navy and the capability of the commercial dockyards in Thailand. This research includes to study the status of ship building and repairing industry of Thailand such as a quantity of ship building and repairing requirement, new-ship price and cost of ship building and repairing. Analyze the collected data and compare with the commercial worth. This research analyzes the economy project based on government’s regulations : projects are considered economically viable when their profit is greater than loan interest rate (8%) and their payback period is 35 years or less .The tool for this research is the questionnaires which were sent to 60 persons who involved in ship building and repairing industry of Thailand. The result of this research by not PV method shows both of Economic benefit and Finance benefit yield IRR more than 8% in all scenarios with the worst payback period of 17 years while NPV method by Economic benefit in excellent scenario yields IRR more than 8% and almost of all scenarios yield BCR close to 1% or more and Finance benefit case yields few lower values. Except in low and very low capability scenarios yield very low values which we should beware for them happened. It is concluded that the development of capability of the Naval Dockyard department ,Royal Thai Navy is commercial worth which accord to the opinion of the questionnaires that agree with this project. | en |
dc.format.extent | 2171000 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1971 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมการต่อเรือ -- ไทย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมการต่อเรือ -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมการต่อเรือ -- การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ -- ไทย | en |
dc.subject | การต่อเรือ -- ค่าใช้จ่าย -- ไทย | en |
dc.subject | เรือ -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม -- ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน -- ไทย | en |
dc.subject | ฐานทัพเรือ -- ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน -- ไทย | en |
dc.title | การพัฒนาขีดความสามารถของกรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ ในเชิงพาณิชย์ | en |
dc.title.alternative | Capability development of the Naval Dockyard Department, Royal Thai Navy in commercial | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Kamonchanok.s@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1971 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wachirawit_no.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.