Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระชัย ปูรณโชติ-
dc.contributor.authorอุบลพงษ์ วัฒนเสรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-11T01:41:09Z-
dc.date.available2012-12-11T01:41:09Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27457-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยฝ่ายมัธยมและเปรียบเทียบทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยฝ่ายมัธยม ตัวอย่างประชากรที่ใช้คือ นักเรียนซึ่งกำลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝ่ายมัธยม จำนวน 181 คน มีอายุระหว่าง 11 ถึง 15 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือบทเรียนซึ่งใช้ประกอบการปฎิบัติการ และตารางวัดทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ในการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้เลือกห้องเรียนซึ่งมีค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ไม่แตกต่างกัน (P< .05) ระดับชั้นละ 2 ห้องเรียนและจับฉลากเลือกว่าห้องใดจะเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง โดยทำการสอนด้วยวิธีให้นักเรียนปฎิบัติการทดลองด้วยตนเองทุกห้อง บทเรียนละ 1 คาบ ทั้ง 3 ระดับชั้นผู้วิจัยได้แนะนำและสาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์วิทยาศาตร์ที่ถูกต้อง 5 ชนิด เฉพาะนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองทุกครั้งก่อนเริ่มทำปฎิบัติการตามบทเรียนในคาบนั้นๆ การรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนได้จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างปฏิบัติการ และการให้คะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ตามเกณฑ์ซึ่งตั้งไว้ในตารางวัดทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยได้สุ่มนักเรียนห้องละ 10 คน เพื่อเป็นตัวอย่างในการสังเกตพฤติกรรมและวัดทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์แต่ละชนิด และได้สุ่มตัวอย่างนักเรียนใหม่ทุกครั้งเมื่อเริ่มเรียนบทเรียนใหม่ นำคะแนนที่วัดได้มาคำนวณหาค่ามัชฌิมแลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำค่ามัชฌิมของคะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของแต่ละกลุ่มจำแนกตามชนิดของอุปกร์มาเปรียบเทียบและทดสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่างโดยการทดสอบด้วยค่าที ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ยกเว้น ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของนักเรียนทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากทักษะการใช้กรวยกรอง 2) เมื่อนำค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ จำแนกตามชนิดของอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของกลุ่มทดลอง มาเปรียบเทียบกันทั้ง 3 ระดับชั้น พบว่า ค่าของมัชฌิมเลขคณิตของคะแนนทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research was to study the Science Instrumental Skills after working in the laboratory of the lower secondary school (M.S. I – III) of Chulalongkorn University Demonstration School and compared their skill scores. One hundred and eighty one of samples were students of M.S. I – III who were studying science lesson. They were between 11-15 years of age. Each class was divided into two groups; experiment group and control group. That their means in science scores were not significantly (P<.05) different. Before working lab, the researcher advised and demeonstrated how to use five science instruments to experiment group. The researcher observed behavior of both experiment group and control group then marked their science instrumental skill scores in science instrumental skill table. Skill scores were analyzed in Mean and Standard Deviation and then tested different means with t – test. The findings were as follows :1. The Mean in science instrumental skill scores of Experiment group is significantly (p< .05) different than that of control group, except MS. I students that the two groups are not significantly (p< .05) different. 2. Depend on Science Instrument Methods, the Mean in science instrumental skill scores of three Experiment groups of three classes are not significantly (p< .01) different.-
dc.format.extent440380 bytes-
dc.format.extent714357 bytes-
dc.format.extent406856 bytes-
dc.format.extent543714 bytes-
dc.format.extent416430 bytes-
dc.format.extent976527 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- เครื่องมือและอุปกรณ์-
dc.subjectเครื่องมือวิทยาศาสตร์-
dc.titleทักษะการใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยมen
dc.title.alternativeScience instrumental skills of the lower secondary school students, Chulalongkorn University Demonstration Schoolen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubolpong_Wa_front.pdf430.06 kBAdobe PDFView/Open
Ubolpong_Wa_ch1.pdf697.61 kBAdobe PDFView/Open
Ubolpong_Wa_ch2.pdf397.32 kBAdobe PDFView/Open
Ubolpong_Wa_ch3.pdf530.97 kBAdobe PDFView/Open
Ubolpong_Wa_ch4.pdf406.67 kBAdobe PDFView/Open
Ubolpong_Wa_back.pdf953.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.