Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอ. เดอนีส์
dc.contributor.authorอมรรัตน์ นิโครธานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-11T15:38:35Z
dc.date.available2012-12-11T15:38:35Z
dc.date.issued2525
dc.identifier.isbn9745607233
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27536
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractถ้าเราอ่านนวนิยายฝรั่งเศสในศตวรรษต่าง ๆ เราจะพบแก่นเรื่องที่น่าสนใจมากอยู่เรื่องหนึ่ง คือ เรื่องผู้หญิงและอารมณ์ นวนิยายแต่ละศตวรรษสะท้อนให้เห็นอารมณ์ที่แตกต่างกันของผู้หญิง ข้อสังเกตนี้เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เขียนวิทยานิพนธ์เกิดความคิดที่จะศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง อารมณ์ในชีวิตรักของผู้หญิงในนวนิยาย เรื่อง ลาแรพร็งแซสส์ เดอ แคลฟ ลานูแวล เอโลอิส มาดาม โบวารี และ เตแรส เดสเกย์รูซ์ ซึ่งเป็นนวนิยายที่มีชื่อเสียงในสมัยคลาสสิค สมัยศตวรรษของนักปราชญ์ สมัยโรแมนติค และในศตวรรษที่ยี่สิบ ตามลำดับ ก่อนอื่นเราจะพิจาณาอิทธิพลทางด้านสังคม ครอบครัว การศึกษา และศาสนา ที่มีต่อชีวิตรักของผู้หญิง เพื่อเราจะได้รู้ว่าความขัดแย้งระหว่างความรักที่นางเอกมีต่อสามี และความรักที่มีต่อชายอื่นนั้นเกิดขึ้นและพัฒนาไปอย่างไร ต่อจากนั้นจะวิเคราะห์บทบาทของความรักที่มีต่อคู่สมรส และความรักที่มีต่อชายอื่น รวมทั้งพัฒนาการทางอารมณ์รัก และความขัดแย้งในจิตใจของผู้หญิง ท้ายที่สุดเราจะพบความเป็นอัจฉริยะของผู้ประพันธ์จากลีลาและวิธีการเรียน ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของเขาในการเสนออารมณ์รักของตัวนางเอก
dc.description.abstractalternativeSi nous lisons des romans francais des differentes époques de la literature, nous decouvrons qu’un theme y occupe une place tres importante, o’est celui de al femme et de la passion. Et les romans de chaque siècle refletent differemment la passion chez la femme. Cette constatation a inspire a l auteur de la these l’idee de faire l’etude anaytique du theme de la passion chez la femme dans la Princesse de Cleves, La Nouvelle Heloise, Madame Bovary et therese Desqueyroux, qui sont des romans celeries du siècle classique, du siècle des philosophes, du siècle romantique et du vingtieme siècle respectivement. Pour savoir comment nait et evolue le conflit entre l’amour marital et l’amour-passion chez les heroines des differentes époques, il nous faut d’abord considerer la societe, la famille, l’education et la religion comme facteurs importants qui exercent une influence sur la vie amoureuse chez la femme. Puis on analyse le role de l’amour marital et de l’amour-passion y compris le developpement des sentiments l’amour et du conflit interieur chez la femme. Enfin on retrouve le genie personnel de chaque ecrivain dans son style et sa maniere particuliere de presenter la passion amoureuse de ses beroines.
dc.format.extent425310 bytes
dc.format.extent1199435 bytes
dc.format.extent843575 bytes
dc.format.extent981790 bytes
dc.format.extent623216 bytes
dc.format.extent421555 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง อารมณ์ในชีวิตรักของผู้หญิงในนวนิยาย 4 เรื่อง : ลาแพร็ง แซสส์ เดอ แคลฟ, ลานูแวล เอโออิส, มาดาม โบวารี และ แตแรส เดสเกย์รูซ์en
dc.title.alternativeEtude analytique du theme de la passion chez la femme dans "La Princesse de Cleves", "La nouvelle Heeloise", " Madame Bovary" et "Therese Desqueyroux"en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาอังกฤษes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amornrat_Ni_front.pdf415.34 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Ni_ch1.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Ni_ch2.pdf823.8 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Ni_ch3.pdf958.78 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Ni_ch4.pdf608.61 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_Ni_back.pdf411.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.