Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28105
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธาราทิพย์ สุวรรณศาสตร์ | - |
dc.contributor.advisor | อภิณห์พร เมธาวัชร์นานนท์ | - |
dc.contributor.author | เทิดพงศ์ ธยามานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-12-25T03:04:22Z | - |
dc.date.available | 2012-12-25T03:04:22Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28105 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | การทดสอบซอฟต์แวร์เป็นส่วนสำคัญของวงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่ได้มีคุณภาพที่ดี ดังนั้นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์จึงจำเป็นต้องมีการยกระดับกระบวนการทดสอบเพื่อให้มีประสิทธิภาพที่สูง แบบจำลองทีเอ็มเอ็มจึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทดสอบขององค์กร และแบบจำลองทีเอ็มเอ็ม-เอเอ็มเป็นแบบจำลองสำหรับการประเมินกระบวนการทดสอบที่เป็นไปตามแบบจำลองทีเอ็มเอ็ม ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการสำหรับประเมินระดับความสามารถของกระบวนการทดสอบขององค์กร ปัจจุบันการประเมินกระบวนการยังขาดเครื่องมือที่ช่วยให้การประเมินกระบวนการสามารถทำงานได้ง่ายขึ้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอเครื่องมือช่วยประเมินแบบจำลองทีเอ็มเอ็มที่จะช่วยทำให้องค์กรสามารถประเมินความสามารถของกระบวนการทดสอบด้วยตนเอง พร้อมทั้งรายงานระดับวุฒิภาวะของกระบวนการทดสอบและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการตามแบบจำลองทีเอ็มเอ็มเพื่อให้บรรลุระดับวุฒิภาวะที่กำหนดไว้ตามต้องการ การทำงานของเครื่องมือถูกแบ่งออกเป็น 4 วิธีการนำเข้าตามความต้องการขององค์กรที่ทำการประเมินกระบวนการทดสอบ ซึ่งจะใช้ผลิตภัณฑ์งานการทดสอบที่มีของโครงการ และแบบสอบถามเป็นข้อมูลนำเข้าสำหรับการประเมิน นอกจากนี้ทดสอบเครื่องมือโดยการทดสอบกับกรณีทดสอบที่เตรียมไว้ เพื่อทดสอบความถูกต้อง และนำไปทดลองใช้จริงกับองค์กร 4 องค์กร ซึ่ง 3 องค์กรมีการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามมาตรฐาน เช่น แบบจำลองซีเอ็มเอ็ม แบบจำลองซีเอ็มเอ็มไอ หรือ แบบจำลองทีเอ็มเอ็ม และอีกหนึ่งองค์กรที่ยังไม่เคยปรับปรุงกระบวนการใดๆ เลย ทั้งหมด 4 องค์กร ซึ่งผลที่ได้คือเครื่องมือช่วยประเมินแบบจำลองทีเอ็มเอ็มสามารถนำไปใช้ประเมินกระบวนการทดสอบได้จริง | en |
dc.description.abstractalternative | Software testing is an important component in the software development life cycle, which leads to have the good quality of software product. Therefore, software industry needs to upgrade the testing process for high performance. The Testing Maturity Model (TMM) is one choice to apply for improving the testing process. It guides organization about framework of software testing. The TMM Assessment Model (TMM-AM) is a test process assessment model following the TMM. The TMM-AM consists of processes to assess test capability of organizations. Currently, the assessment process lacks of tools to be performed. This research proposes a supporting tool based on the TMM-AM which each organization can assess its testing process by itself. The tool can identify test maturity level for an organization and suggest procedures to reach its goal. The tool is developed to be use in four options depend on organizations that want to assess their testing process. The organizations use existing project’s test work products and the TMM questionnaire as input data for the assessment. We tested the tool with test case and four software development organizations. Three of the organizations have a good software development process referring to standard models such as the CMM, CMMI or TMM. The other one is an organization which has never applied any software process model to improve its software process. The result is that the TMM appraisal assistant tool can apply to be used in software organizations. | en |
dc.format.extent | 2870247 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1447 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา | en |
dc.subject | ซอฟต์แวร์ -- การควบคุมคุณภาพ | en |
dc.title | เครื่องมือช่วยประเมินแบบจำลองทีเอ็มเอ็ม | en |
dc.title.alternative | A TMM appraisal assistant tool | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Taratip.S@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1447 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
terdpong_ta.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.