Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล รอดคำดี
dc.contributor.authorวัชราภรณ์ ตระกูลดิษฐ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-26T09:17:19Z
dc.date.available2012-12-26T09:17:19Z
dc.date.issued2525
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28173
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสถานภาพทางเศรษฐกิจ และสังคม ปัจจัยด้านพฤติกรรมการสื่อสาร และปัจจัยด้านการกระทำทางสังคม กับทัศนคติของ เกษตรกรในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 118 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายจากหมู่บ้าน 2 หมู่บ้านที่เลือกจากอำเภอ พรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี ได้ทำการสัมภาษณ์ผู้แทนครอบครัวจำนวน 47 คนจากหมู่บ้านโภคาภิวัฒน์ และสัมภาษณ์ผู้แทนครอบครัวจำนวน 71 คนจากหมู่บ้านศรีพรหมประสิทธิ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ การทดสอบค่าไคสแควร์ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพาเชียล และการวิเคราะห์ถดถอยพหูคูณ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้คือ 1.ปัจจัยด้านสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมได้แก่ เพศและอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านน้ำตมแผนใหม่ของเกษตรกรที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ส่วนปัจจัยอื่นๆได้แก่ ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ ฐานะทาง เศรษฐกิจ และความเป็นเจ้าของที่ดิน มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่าน นาตมแผนใหม่อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการสื่อสารไค้แก่ การฝึกอบรม มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติกับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ของเกษตรกร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ไค้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม การมีประสบการณ์ภายนอกสังคม การเปิดรับสื่อมวลชน และการพบปะพูดคุยกับผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ของเกษตรกรอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ปัจจัยด้านการกระทำทางสังคมไค้แก่ ความสามารถ มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติกับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ของเกษตรกร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ไค้แก่ การสนับสนุน ความคาดหวัง และการบังคับ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ของเกษตรกรอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เมื่อพิจารณาปัจจัยต่างๆเหล่านี้แล้วพบว่า การฝึกอบรมเป็นตัวแปรสำคัญที่สุดในการอธิบายความแตกต่างของทัศนคติในการยอมรับการทำนาหว่านนาตมแผนใหม่ของเกษตรกร รองลงมาคือ อายุ ความสามารถ การบังคับและการสนับสนุน ส่วนปัจจัยอื่นๆ เป็นตัวแปรที่มีความสำคัญน้อยมากในการพยากรณ์
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to determine the following relationships between socioeconomic status factors, communication behavior factors, social action factors and the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice. The data were derived from 118 interviews by Simple Random Sampling Method, with two selected villages in Amphoe Phromburi, Sing Buri Province. Out of 118 samples,47 were done in Pokapiwat village and 71 were done in Sriphromprasit village. The instrument for data collecting was a questionaire. Data analysis was done by using persentage, chi-square test, partial correlation coefficient and multiple regression analysis The finding are as follow : 1. Socioeconomic status factors; "Sex” and "Age" were positively and significantly related to the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice at the 0.01 level. Other factors, e.g., literacy, economic"status and landlordships were not significantly related to the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice. 2. Communication behavior factors; "Training" was positively and significantly related to the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice at the 0.01 level, other factors, e.g., social participation, cosmopolitan, massmedia exposure and talking with a change agent were not significantly related to the farmers' altitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice. 3. Social action factors; "Ability” was positively and significantly related to the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice at the 0.01 level, other factors, e.g., support, expectation and force were not significantly related to the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice. 4. Considering all the factors that effect the farmers' attitude of adoption; “Training” was the most significant variable for explaning the difference of the farmers' attitude on adoption of Pregerminated Direct Seeded Rice. The inferior variables were age, ability, force and support, respectively. Some other factors wereless significant variable for prediction.
dc.format.extent370176 bytes
dc.format.extent334120 bytes
dc.format.extent1047444 bytes
dc.format.extent318946 bytes
dc.format.extent691539 bytes
dc.format.extent623193 bytes
dc.format.extent1684537 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติเกี่ยวกับการยอมรับการทำนาหว่านน้ำตมแผนใหม่ ของเกษตรกรอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรีen
dc.title.alternativeFactors effecting the farmers' attitude on adoption of pregerminated direct seeded rice at amphoe Phromburi, Sing Buri provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wacharaporn_Tr_front.pdf361.5 kBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_ch1.pdf326.29 kBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_ch2.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_ch3.pdf311.47 kBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_ch4.pdf675.33 kBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_ch5.pdf608.59 kBAdobe PDFView/Open
Wacharaporn_Tr_back.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.