Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์
dc.contributor.authorอนันต์ธนา อังกินันทน์
dc.contributor.authorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-26T10:21:12Z
dc.date.available2012-12-26T10:21:12Z
dc.date.issued2518
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28183
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาและวิเคราะห์การจัดรายการโทรทัศน์การศึกษาที่ให้ความรู้แบบการศึกษาโดยตรงและโดยทางอ้อม ในการจัดรายการโทรทัศน์ของแต่ละสถานี เพื่อที่จะนำมาเปรียบเทียบกันว่า แต่ละสถานีนั้นจัดรายการตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเป้าหมายหรือไม่ และทางสถานีจัดรายการเกี่ยวกับการให้ความรู้หรือส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมเป็นประโยชน์แก่การศึกษาตามที่มุ่งหวังมากน้อยเพียงไร และเหตุไรรายการของสถานีที่เกี่ยวกับการศึกษาจึงไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร และถ้าหากว่าจะจัดในลักษณะรายการแทรกการบันเทิงจะได้รับประโยชน์คุ้มค่าเนื่องจากจะเป็นที่สนใจของคนดูมากกว่า ความมุ่งหมายในการวิจัย คือ การใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษา และการให้ความรู้นั้นเป็นปัญหาที่ได้มีการอภิปรายพร้อมกับสัมมนาหลายครั้งหลายหน และได้มีผู้วิจัยถึงการใช้โทรทัศน์เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาเป็นจำนวนหลายรายด้วยกัน แต่ก็ยังไม่มีใครจะนำปัญหาเรื่องเกี่ยวกับว่า การใช้โทรทัศน์การศึกษานั้น ควรจะทำอย่างไรที่จะให้ผู้ชมได้รับความรู้โดยทางตรงและโดยทางอ้อมโดยไม่มีการเบื่อหน่าย ผู้วิจัยจึงคิดว่าควรจะนำรายการโทรทัศน์การศึกษามาเสนอในแบบการบันเทิง โดยสอดแทรกรายการที่จะให้ความรู้และสาระในรายการนั้นๆ เพื่อที่จะได้ผลดีที่สุดตามที่ปรารถนาไว้ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) โทรทัศน์การศึกษาในปัจจุบันไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากมีลักษณะทางวิชาการ และเวลาในการจัดอยู่ในช่วงระยะเวลาที่คนส่วนมากยังไม่กลับบ้าน (2) ผู้อุปถัมภ์รายการไม่อยากจัดรายการประเภทนี้ เนื่องจากอุปสรรคทางด้านเวลาที่จัดในช่วงที่คนยังไม่กลับบ้าน และรายการยังไม่ดีพอ ฉะนั้นกลัวเป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มค่า (3) หากจัดในเวลา 18.30 – 21.30 น. อันเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดก็เกิดอุปสรรคทางด้านสถานีโทรทัศน์เนื่องจากเป็นเวลาที่เก็บอัตราโฆษณาแพง และคนดูมากตลอดจนสถานีกลัวคนจะไม่ดูในโอกาสต่อไป (4) รายการควรปรับปรุงให้เป็นรายการแทรกความรู้ ในการจัดทางด้านบันเทิง เพราะว่าคนจะดูมากกว่าเท่าที่จัดการศึกษาในปัจจุบัน (5) ควรหาผู้ดำเนินงานจัดรายการที่จูงใจและเป็นกันเองต่อผู้ดู ผลสรุปที่ได้มานั้น ได้จากการวิธีดำเนินการโดยสุ่มตัวอย่างจากกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ประกอบด้วย กลุ่มนิสิต นักศึกษา และประชากรทั่วไป อันเป็นกลุ่มประเภทผู้รับข่าวสาร Receiver กลุ่มที่สองได้แก่เป็นกลุ่มของ Sender หรือผู้ส่งทางด้านฝ่ายสถานีโทรทัศน์ อันประกอบด้วย ผู้จัดการ ผู้อำนวยการ และฝ่ายรายการ กลุ่มที่สามได้แก่กลุ่มผู้อุปถัมภ์รายการอันได้แก่บริษัทที่มีกิจการโฆษณาทางโทรทัศน์ทั้ง 9 แห่ง และกลุ่มที่สี่อันได้แก่กลุ่มสื่อมวลชนที่เกี่ยวข้องกับโทรทัศน์ อันได้แก่กลุ่มหนังสือพิมพ์ หนังสือรายสัปดาห์ และผู้เกี่ยวข้องกับโทรทัศน์
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was : (1) To study and analyze educational television programmer that offers direct and indirect educational patterns in each station to compare the success of the produced programs according to the objectives. (2) To find out the success each program in offering advanced knowledge or reinforces of the education and culture for the audience (3) To find out the unpopularity of the programs and (4) To find out methods in setting training programs for more educational effectiveness in the form entertainment The conclusions come from the population sampling techniques which consist of 1. The students and the general public who are called the receivers. 2. The second group is called the senders or the station men who are the manager, the director and the programmer. 3. The third group is the group of the sponsors which consists of the company that has nine television advertisements. 4. The mass media group is the last one which concerns with the television program. They are the men from the newspaper weekly book and the television broadcasting. Results : (1) The educational television program is not popular new because it seems to be more academic show in the time that the audience has not yet arrived home (2) The program sponsors do not want to support educational program because of unsuitable time as mentioned above. They also realized that is won’t be the best investment to do so because the program is not good enough. (3) There are some problem if the show time is set at the prime time between 6.30 to 9.30 p.m. because the advertisement rate is too high. Moreover each station realizes that if the regular programs are set after the prime time may not be interested in the programs which will result in the decreases of the station’s (4) The educational programs should be improved to be of more entertaining than the purely academic programs. (5) The station should find out more motivated and capable to attack the audience to watch the educational programs.
dc.format.extent197913 bytes
dc.format.extent1192410 bytes
dc.format.extent982150 bytes
dc.format.extent1486548 bytes
dc.format.extent470067 bytes
dc.format.extent219021 bytes
dc.format.extent588789 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleโทรทัศน์การศึกษาแบบบันเทิงen
dc.title.alternativeEducational television entertainment styleen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anandhana_An_front.pdf193.27 kBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_ch1.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_ch2.pdf959.13 kBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_ch3.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_ch4.pdf459.05 kBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_ch5.pdf213.89 kBAdobe PDFView/Open
Anandhana_An_back.pdf574.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.