Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกริก ภิรมย์โสภา-
dc.contributor.authorศีลพล สุกไสว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-12-27T08:47:20Z-
dc.date.available2012-12-27T08:47:20Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28204-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractอุปกรณ์เคลื่อนที่ที่ใช้จอสัมผัสนั้นได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในการใช้งานนั้นมีอุปสรรคที่สำคัญบางประการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของการป้อนข้อความเนื่องจากหน้าจอมีขนาดเล็กและแป้นพิมพ์ที่ใช้ในปัจจุบันนั้นทำให้ผู้ใช้พิมพ์ผิดได้ง่าย งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้นโดยพยายามที่จะลดขนาดของแป้นพิมพ์ในขณะที่ไม่ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการใช้งานมากเกินไป โดยในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอแนวทางสองแนวทาง แนวทางแรกพยายามลดจำนวนปุ่มลงโดยทำให้ปุ่มหนึ่ง ๆ นั้นป้อนตัวอักขระได้หลายตัว และใช้การลากเพื่อเลือกตัวอักขระ แนวทางที่สองนั้นพยายามลดขนาดของปุ่มโดยใช้ตัวชี้มาช่วยในการเลือกปุ่มเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดเพิ่มขึ้น ซึ่งได้มีการพัฒนาแป้นพิมพ์ต้นแบบขึ้นเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและความพึงพอใจของผู้ใช้เบื้องต้น แป้นพิมพ์ต้นแบบนั้นได้พัฒนาขึ้นสำหรับอุปกรณ์ประเภทโทรศัพท์มือถือแบบจอสัมผัสที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ผลลัพธ์จากการทดสอบพบว่าแป้นพิมพ์ต้นแบบนั้นใช้พื้นที่น้อยลงโดยแลกกับความเร็วที่ลดลง โดยที่แป้นพิมพ์จากแนวทางที่สองนั้นยังสามารถป้อนข้อความได้โดยที่มีความผิดพลาดไม่ต่างจากแป้นพิมพ์ทั่วไปในเชิงสถิติen
dc.description.abstractalternativeTouch screen mobile devices have become very popular recently. However, there are still some problems that lower their performance such as small screen size and keyboard mistyping. The purpose of this study is to propose two methods to relieve those problems by reducing keyboard size while not lowering much performance. The first method aims to reduce the amount of key buttons by making each button represent a group of characters and using dragging to choose a character for the button. Another method aims to reduce button size and using cursor to choose a button to prevent more errors. Two prototype keyboards represented each method were implemented for touch screen mobile phone with Android operating system. An experiment was conducted to measure the prototypes' preformance and user satisfaction. The results shows that these prototypes consume less space but lose some speed. However, the second prototype keyboard is still comparable with normal keyboards in term of error rate.en
dc.format.extent1426329 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1496-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหน้าจอสัมผัสen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.subjectแผงแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์en
dc.subjectการพิมพ์ด้วยแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์en
dc.subjectอุปกรณ์รับเข้า-ส่งออกen
dc.subjectตัวเชื่อมประสานกับผู้ใช้ (ระบบคอมพิวเตอร์)en
dc.titleการพัฒนาแป้นพิมพ์เสมือนภาษาไทยขนาดเล็กบนจอสัมผัสสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่en
dc.title.alternativeDevelopment of small Thai touch screen virtual keyboard in mobile devicesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKrerk@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1496-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
silpol_su.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.