Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28232
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธงชัย พรรณสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | เยาวนุช สุจริตธรรม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-12-30T12:41:25Z | - |
dc.date.available | 2012-12-30T12:41:25Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745829528 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28232 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการตกตะกอนผลึกโครเมียม จากน้ำเสียฟอกหนังโดยใช้สารเคมีประเภทต่าง 3 ชนิด คือ แมกนีเซียมออกไซด์โซเดียมคาร์บอเนต และ ปูนขาวซึ่งจะใช้ร่วมกับแมกนีเซียมออกไซด์ และสารรวมตะกอน 3 ชนิด คือ โพสีเมอร์ประจุลบ บวก และไร้ประจุ ในการศึกษานี้ได้ใช้น้ำฟอกโครม 2 ชนิด คือ มีและไม่มีสารช่วยตรึงโครเมียม พบว่าการตกตะกอนผลึกโครเมียมโดยใช้น้ำเสียที่ไม่มีสารช่วยตรึงโครเมียม ใช้สารตกตะกอนผลึกน้อยกว่า และไม่ต้องใช้สารรวมตะกอน เช่น แมกนีเซียมออกไซด์ใช้ 2 เท่าของค่าสตอยซิโอเมตริกแมกนีเซียมออกไซด์อุ่นใช้ 2 เท่า โซเดียมคาร์บอเนตใช้ 2 เท่า และแมกนีเซียมออกไซด์ร่วมกับปูนขาวใช้ อัตราส่วน 0.5 ต่อ 0.8 เท่า ส่วนน้ำเสียที่มีสารช่วยตรึงโครเมียม ปริมาณสารตกตะกอนผลึกที่ใช้ คือ แมกนีเซียมออกไซด์ใช้ 4 เท่าของค่าสตอยซิโอเมตริก แมกนีเซียมออกไซด์อุ่นใช้ 4 เท่า โซเดียมคาร์บอเนตใช้ 3 เท่า และแมกนีเซียมออกไซด์ร่วมกับปูนขาวใช้อัตราส่วน 1 ต่อ 1 เท่า ดังนั้นค่าใช้จ่ายด้านสารเคมีจึงน้อยกว่าน้ำเสียที่มีสารช่วยตรึงโครเมียม ประสิทธิภาพในการตกตะกอนผลึกโครเมียม หรืออีกนัยหนึ่งการกำจัดโครเมียมจากน้ำเสียทั้ง 2 ชนิด โดยใช้สารตกตะกอนผลึกทั้ง 3 ชนิด มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน คือ 98-100 เปอร์เซ็นต์ แต่ปริมาณตะกอนผลึกไม่เท่ากันโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ โซเดียมคาร์บอเนต แมกนีเซียมออกไซด์ร่วมกับปูนขาว และแมกนีเซียมออกไซด์ พีเอชที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาสำหรับน้ำเสียที่ไม่มีสารช่วย ตรึงโครเมียมของแมกนีเซียมออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์อุ่น โซเดียมคาร์บอเนต และแมกนีเซียมออกไซด์ ร่วมกับปูนขาว คือ 8.4-8.5. 8.9, 8.2 และ 7.4-7.5 ตามลำดับ ส่วนน้ำเสียที่มีสารช่วยตรึงโครเมียม พีเอชที่เหมาะสมเท่ากับ 8.5. 8.6, 8.6 และ 7.8 ตามลำดับ และการใช้แมกนีเซียมออกไซด์ร่วมกับปูนขาวจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดประมาณ 55 บาทต่อลูกบาศ์กเมตร | - |
dc.description.abstractalternative | This research was to find optimun condition and efficiency of chromium precipitation from tanning wastewater by 3 alkalies and 3 flocculation agents. The 3 alkalies were MgO, Na2CO3 and Ca(OH)2 + MgO, while the 3 flocculation agents were anionic, cationic and nonionic polymer. The experiments were carried out using 2 kinds of tanning wastewaters, ie. with and without chromium fixing additives. It was found that the treatment of tanning wastewater without chromium fixing additive required 2x of MgO, heated MgO and Na2CO3, when X was the stoichiometric precipitation requirement. However, if MgO + Ca(OH)2 were used, the ratio should be 0.5x and 0.8x. Whereas treatment of tanning wastewater with chromium fixing additive required 4x of MgO, 4x of heated MgO, 3x of Na2CO3 and lx of MgO : lx of Ca(OH)2. Furthermore, it was found that the efficiency of treatment using any alkalies were almost the same, with 98 to 100 percent of chromium removal. However, the amount of sludge volumes were different. The Na2CO3 gave the highest sludge volume while MgO provided the lowest sludge volume. The optimum pH for the reaction of MgO, heated MgO, Na2CO3 and MgO + Ca(OH)2 with tanning wastewater without fixing additive were 8.4-8.6, 8.9, 8.2 and 7.4-7.5, respectively. While those with tanning wastewater with chromium fixing additive were 8.5, 8.6, 8.6 and 7.85, respectively. In conclusion, treatment of tanning wastewater using MgO + Ca(OH)2 gave the lowest treatment cost of about 55 baht/cu.m. of wastewater. | - |
dc.format.extent | 7665348 bytes | - |
dc.format.extent | 1072885 bytes | - |
dc.format.extent | 10723391 bytes | - |
dc.format.extent | 3290403 bytes | - |
dc.format.extent | 34750104 bytes | - |
dc.format.extent | 1480213 bytes | - |
dc.format.extent | 13621219 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การตกตะกอนผลึกโครเมียมจากน้ำเสียฟอกหนังโดยการบำบัดด้วยด่าง | en |
dc.title.alternative | Precipitation of chromium from tanning wastewater by alkali treatment | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yaowanud_su_front.pdf | 7.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_ch1.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_ch2.pdf | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_ch3.pdf | 3.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_ch4.pdf | 33.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_ch5.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yaowanud_su_back.pdf | 13.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.