Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญเรือน กิติวัฒน์-
dc.contributor.authorศราวุฒิ ห้วงสมุทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-15T06:24:41Z-
dc.date.available2013-01-15T06:24:41Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745830844-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28454-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะหรือวิธีการใช้อำนาจต่อการเสนอข่าวของนักการเมือง ซึ่งอาจจะเป็นรองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรี ให้กำกับดูแลองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อ.ส.ม.ท. ฉบับที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2520 ถึง พ.ศ. 2534 พร้อมทั้งศึกษาถึงผลกระทบและความขัคแย้งที่เกิดขึ้น จากการใช้อำนาจนั้น ผลของการวิจัยพบว่า พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อ.ส.ม.ท. ฉบับที่ 1 นั้นกำหนดให้รัฐมนตรี ที่กำกับดูแล อ.ส.ม.ท. เป็นประธานกรรมการ อ.ส.ม.ท. และเป็นผู้เสนอแต่งตั้งกรรมการทั้งหมด จึงปรากฏว่านักการเมืองใช้อำนาจในการควบคุมการบริหารงานและการดำเนินงานของ อ.ส.ม.ท. โดยเฉพาะในด้านของการเสนอข่าวมากน้อยแตกต่างกัน และพบว่าลักษณะหรือวิธีการใช้อำนาจของ นักการเมืองเป็นการใช้อำนาจสั่งการเพื่อให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามความต้องการ โดยใช้อำนาจควบคู่ กันไป 2 ลักษณะคือ การใช้อำนาจสั่งการตามระบบ และการใช้อำนาจสั่งการนอกระบบ ซึ่งการใช้อำนาจของนักการเมืองต่อการเสนอข่าวของ อ.ส.ม.ท. นี้ก่อให้เกิดผลกระทบและความขัดแย้งในกลุ่มต่างๆ ในระดับความรุนแรงที่แตกต่างกัน ทั้งๆ ที่นักการเมืองเหล่านั้นต่างก็แสดงทัศนะว่า สื่อมวลชนที่ดีควรจะ มีความเป็นอิสระ มีความเป็นกลาง และตรงไปตรงมา ประการสำคัญคือ การวิจัยยังพบด้วยว่า ถึงแม้จะมีความพยายามปิดกั้นอำนาจของนักการเมือง โดยประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ 40 และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อ.ส.ม.ท. ฉบับที่ 2 และ 3 แต่ก็มีความพยายามทีจะเปลี่ยนแปลงในเวลาต่อมา แสดงให้เห็นว่านักการเมืองต้องการคงไว้ซึ่งอำนาจในการควบคุมการบริหารงานและการดำเนินงานของ อ.ส.ม.ท.-
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed at examining the nature or means of power exercise on news coverage by Thai politicians in various coalition government, who had been appointed by the Prime Minister to direct and supervise The Mass Communication Organization of Thailand (MCOT) in accordance with the First Royal Decree on the establishment of the government's mouthpiece between 1977 1 and 1991. The research also included the study on the ramifications and conflicts that ensued. The result of this research indicated that the authority vested in the royal decree that minister or deputy prime minister in charge of MCOT was chairman of MCOT board and mandated to appoint all board members helped facilitate those politicians in that position in abusing their powers to different extents. According to the study, the nature and means of politicians' power abusing was divided into two categories; the abuses of given directive power and of indirect power to their benefits. Interestingly, the abuses of powers in both forms went on and on despite politicians' frequent speeches that good mass media should have freedom of expression and stay neutral and straightforward. More importantly, the study also indicated that despite attempts to £ limit politicians' power in the organization, obviously those reflected in the Fortieth Announcement of National Peacekeeping Council and the Second and Third Royal Decree on setting up of MCOT., there were successive attempts to correct those decrees by politicians. This proved that politicians were tempted to maintain their maximum directive and administrative powers for their own ends.-
dc.format.extent6068729 bytes-
dc.format.extent4705309 bytes-
dc.format.extent10003034 bytes-
dc.format.extent5169487 bytes-
dc.format.extent11525036 bytes-
dc.format.extent40468881 bytes-
dc.format.extent14241307 bytes-
dc.format.extent5366229 bytes-
dc.format.extent6898927 bytes-
dc.format.extent41624817 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอำนาจของนักการเมืองต่อการเสนอข่าว ขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.)en
dc.title.alternativePoliticians' power on the mass communication organization of Thailand (MCOT)'s news coverageen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srawut_hu_front.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch1.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch2.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch3.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch4.pdf11.25 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch5.pdf39.52 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch6.pdf13.91 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch7.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_ch8.pdf6.74 MBAdobe PDFView/Open
Srawut_hu_back.pdf40.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.