Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกิตติ์สิน สีหนนทน์-
dc.contributor.authorศราวุธ หุ่นโตภาพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-01-15T08:26:41Z-
dc.date.available2013-01-15T08:26:41Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745798363-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28468-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en
dc.description.abstractแยกราเอคโตไมคอร์ไรซ่าจากรากของกล้าสนเขา( Pinus spp.) ซึ่งได้จากศูนย์เพาะชำกล้าไม้ 5 จังหวัดในประเทศไทย ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าได้จำนวน 18 สายพันธุ์ แบ่งเป็นกลุ่มได้ 5 กลุ่ม โดยดูจากลักษณะโคโลนี และการสร้างสายใยที่คล้ายกัน ได้ตัวแทนกลุ่มดังนี้ Surin l, Pisanulok 2, Saraburi 3, Tak 4 และ ubo1lachathani 3 เป็นตัวแทนกลุ่มที่ 1, 2, 3, 4และ 5 ตามลำดับ เมื่อเลี้ยงราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่แยกได้ทั้ง 5 ชนิดลงใน Inoculum medium ที่มีอัตราส่วนของเวอร์มิคิวไลท์และดินพรุที่แตกต่างกัน พบว่า ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่แยกได้ทั้ง 5 ชนิด มีอัตราการเจริญเติบโตสูงสุดใน Inoculum medium ที่มีอัตราส่วนของดินพรุต่อเวอร์มิคิวไลท์เท่ากับ 1 : 50 เมื่อทำการทดลองเปรียบเทียบอัตราการเจริญของสนสามใบระหว่างชุดควบคุมซึ่งไม่ได้ใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่ากับชุดการทดลองซึ่งใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าตัวแทนที่แยกได้ทั้ง 5 ชนิด พบว่าสนสามใบที่ปลูกโดยการใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่แยกได้ทั้ง 5 ชนิด มีอัตราการเจริญที่สูงกว่าสนสามใบที่ปลูกโดยการใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่แยกได้ทั้ง 5 ชนิด มีอัตราการเจริญที่สูงกว่าสนสามใบซึ่งปลูกโดยไม่ได้ใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกล้าสนสามใบที่ใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าทั้ง 5 ชนิด มีความยาวลำต้นอยู่ระหว่าง 1 1.88-15.68 ซม. ความยาวรากอยู่ระหว่าง 10.75-14.05 ซม. น้ำหนักสดของลำต้นอยู่ระหว่าง 1.61-2.42 ก. น้ำหนักสดของรากอยู่ระหว่าง 0.18-0.31 ก. น้ำหนักแห้งของลำต้นอยู่ระหว่าง 0.35-0.73 ก. น้ำหนักแห้งของรากอยู่ระหว่าง 0.12-0.21 ก.เส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นอยู่ระหว่าง1.83 -2.1 มม. เปอร์เซ็นต์การติดเชื้อราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่รากอยู่ระหว่าง 44.60-67.50 % เปอร์เซ็นต์การอยู่รอดอยู่ระหว่าง 84.48-87.44 % ปริมาณธาตุไนโตรเจน, ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ยม อยู่ระหว่าง 1.006- 1 .347%, 0.081-0.106% และ0.770-1.950% ตามลำดับ ในขณะที่กล้าสนสามใบที่ไม่ได้ใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่ามีความยาวลำต้นเท่ากับ 10.01 ซม.ความยาวรากเท่ากับ 6.47 ซม. น้ำหนักสดของลำต้นเท่ากับ 0.54 ก. น้ำหนักสดของ รากเท่ากับ 0.04 ก. น้ำหนักแห้งของลำต้นเท่ากับ 0.16 ก.น้ำหนักแห้งของรากเท่ากับ 0.03 ก. เส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นเท่ากับ 1.05 มม. เปอร์เซ็นต์การอยู่รอดเท่ากับ 2 5 . 6 5% ปริมาณธาตุไนโตรเจน, ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ยมเท่ากับ 0.089,0.07 110.77% ตามลำดับ เปรียบเทียบอัตราการเจริญของสนสามใบซึ่งใส่ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าทั้ง 5 ชนิด พบว่า Tak 4 มีผลต่ออัตราการเจริญของสนสามใบสูงสุดในทุกๆ parameter ที่ทำการวัดเปรียบเทียบ ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าที่มีผลต่ออัตราการเจริญของสนสามใบรองลงมาได้แก่ Saraburi 3, Ubolrachathani 3, Surin 1 และ Pisanulok 2 ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeEighteen strains of ectomycorrhizal fungi were isolated from root of Pine(Pinus spp.) seedlings. Pine seedlings were collected from nursery which locate in five provinces of Thailand. Grouping them into five groups based on the similarity of their colony and mycelium formation pattern. Isolated ectomycorrhizal fungi Surin 1, Pisanulok 2, Saraburi 3, Tak 4 and Ubolrachathani 3 were represented to Group 1,2,3,4 and 5 respectively. The inoculum medium containing 1:50 volume by volume of organic soil (soil plow) and vermiculite gave the highest growth rate in all five representative isolated ectomycorrhizal fungi. Comparing growth rate of infected khasia pine seedling with five representative isolated ectomycorrhizal fungi and uninfected khasia pine seedlttgs found that five months old infected khasia pine seedling with all five isolated ectomycorrhizal fungi showed kigher growth rate statistically significance than uninfected khasia pine seedlings.-
dc.format.extent11058101 bytes-
dc.format.extent17005705 bytes-
dc.format.extent8931062 bytes-
dc.format.extent53268735 bytes-
dc.format.extent8186807 bytes-
dc.format.extent26948568 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของราเอคโดไมเคอร์ไรซ่าที่แยกได้ต่อการเจริญของกล้าสนสามใบ (Pinus kesiya royle ex gordon)en
dc.title.alternativeEffects of isolated ectomycorrhizal fungi on growth of khasia Pine (Pinus kesiya royle ex gordon) seedlingsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarawooth_hu_front.pdf10.8 MBAdobe PDFView/Open
Sarawooth_hu_ch1.pdf16.61 MBAdobe PDFView/Open
Sarawooth_hu_ch2.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open
Sarawooth_hu_ch3.pdf52.02 MBAdobe PDFView/Open
Sarawooth_hu_ch4.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open
Sarawooth_hu_back.pdf26.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.