Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ หนูไพโรจน์ | - |
dc.contributor.author | ภูวนาถ วงษ์อนุ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-01-20T05:21:00Z | - |
dc.date.available | 2013-01-20T05:21:00Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28574 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการทำซ้ำแบบเลซีอัพเดทมาใช้ในระบบศูนย์สำรอง เพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้นของการให้บริการ และทำให้ระบบสามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง แม้จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นอันตรายต่อเครื่องแม่ข่ายหลักรวมไปถึงความเสียหายของข้อมูลทางด้านกายภาพ ซึ่งการกู้ระบบจะทำแบบออฟไลน์ เพื่อทำให้สามารถกลับมาให้บริการได้ในเวลาที่กำหนด โดยการทำซ้ำแบบแพสซิฟเป็นรูปแบบการทำซ้ำที่นิยมนำมาใช้งานในระบบสำรอง แต่เป็นการทำซ้ำที่ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อระบบสำรองอยู่นอกพื้นที่กับเครื่องแม่ข่ายหลัก งานวิจัยนี้จึงนำเสนอ 2 เทคนิคใหม่ที่มีพื้นฐานมาจากการทำซ้ำแบบเลซีอัพเดท ซึ่งก็คือการทำซ้ำแบบเลซีอัพเดตแบบช่วงตามเวลาและการทำซ้ำแบบเลซีอัพเดตแบบทำซ้ำล็อก โดยผลลัพธ์ของการทดลองงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า การทำซ้ำแบบเลซีอัพเดทที่งานวิจัยนี้นำเสนอ ให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่าการทำซ้ำแบบแพสซิฟเมื่อนำไปให้งานในระบบศูนย์สำรอง | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to propose the lazy-update replication for backup site system. Using this replication technique will improve service efficiency and allow the system to work continuously even when the server is down due to accidents, as well as, the physical damages of data. The system can be recovered in offline mode within time constraints. However, passive replication, which is one of the most popular techniques, can degrade the performance of the system considerably, especially in the environment where the backup system is off-site. This research proposes two new techniques based on lazy-update replication including the periodic lazy-update replication and the log-replicated lazy-update replication. Our experimental results indicated that our lazy-update-based replication techniques can out-perform passive replication significantly when being used in backup site system. | en |
dc.format.extent | 1817580 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.677 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การกู้ข้อมูล (คอมพิวเตอร์) -- เทคนิค | en |
dc.subject | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ -- การสำรองข้อมูล | en |
dc.subject | Data recovery (Computer science) -- Technique | - |
dc.subject | Electronic data processing -- Backup processing alternatives | - |
dc.title | การทำซ้ำแบบเลซีอัพเดตสำหรับระบบศูนย์สำรอง | en |
dc.title.alternative | Lazy-update replication for backup site system | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | natawut.n@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.677 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phuvanat_wo.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.