Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยา ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorวันทนีย์ พันธชาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-01T11:27:27Z-
dc.date.available2013-02-01T11:27:27Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745620149-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28743-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์ ที่จะศึกษาภาษาถิ่นย่อยของคำเมืองโดยใช้ศัพท์เป็นเกณฑ์บริเวณที่ทำการศึกษาได้แก่ 8 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย คือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลาพูน เชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ และน่าน ในการศึกษาเบื้องต้นผู้วิจัยศึกษาศัพท์ที่ใช้โดยผู้บอกภาษา 14 คนจาก 7 จังหวัด และคัดเลือกหน่วยอรรถที่แทนด้วยศัพท์มากกว่า 1 ศัพท์เพื่อนำไปใช้ในแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้คัดเลือกหมู่บ้านที่จะศึกษาโดยแบ่งบริเวณที่ศึกษาทั้งหมดออกเป็นพื้นที่ย่อยซึ่งมีขนาดเท่ากันโดยยึดแผนที่ที่ปรากฏบนกริดของแผนที่ทหารมาตราส่วน 1 : 250,000 เป็นหลัก แล้วคัดเลือกหมู่บ้านที่มีโรงเรียนประชาบาลตั้งอยู่ 1 หมู่บ้าน เป็นตัวแทนของพื้นที่ย่อยแต่ละพื้นที่ โดยวิธีการสุ่มกระจายแบบง่าย การเก็บข้อมูลใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนประชาบาลประจำหมู่บ้านนั้นๆ จำนวนพื้นที่ย่อยที่ส่งแบบสอบถามไปมีทั้งหมด 125 พื้นที่ แบบสอบถามได้รับคืนประมาณ 90% ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาของแต่ละหน่วยอรรถว่าประกอบด้วยศัพท์จำนวนถี่ศัพท์จากนั้นแสดงการกระจายของศัพท์ลงในแผนที่หน่วยอรรถละ 1 แผ่น และลากเส้นแบ่งเขตภาษาเพื่อแบ่งเขตศัพท์ ปรากฏว่าจากแผนที่ 63 แผ่นมีแผนที่ที่ไม่มีเส้นแบ่งเขตภาษาจำนวน 4 แผ่น แผนที่ที่มีเส้นแบ่งเขตภาษาที่ไม่สำคัญจำนวน 7 แผ่น และแผนที่ที่มีเส้นแบ่งเขตภาษาที่สำคัญจำนวน 52 แผ่น ในบรรดาแผนที่ที่มีเส้นแบ่งเขตภาษาที่สำคัญมีแผนที่ของ 44 หน่วยอรรถที่มี เส้นแบ่งเขตภาษาเกาะกลุ่มกันเป็นเส้นยาวลากจากเหนือลงมาใต้ แบ่งบริเวณที่ทำการศึกษาเป็น 2 เขตศัพท์ทำให้สรุปได้ว่าภาษาถิ่นย่อยของคำเมืองที่สำคัญ 2 ภาษาถิ่นย่อยคือ คำเมืองตะวันตก และคำเมืองตะวันออก นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ใช้แผนที่ที่แสดงการแบ่งภาษาถิ่นย่อยเป็น 2 ภาษาอย่างชัดเจน จำนวน 30 แผ่นมาหาสัดส่วนของศัพท์คำเมืองตะวันตก ซึ่งได้แก่ ศัพท์ที่ใช้ในทาง ตะวันตกของเส้นแบ่งเขตภาษา ต่อศัพท์คำเมืองตะวันออก ซึ่งได้แก่ ศัพท์ที่ใช้ในทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตภาษาของทุกหมู่บ้าน เพี่อหาแนวแบ่งเขตของภาษาถิ่นย่อยทั้งสอง ผลที่ได้รับคือคำเมืองตะวันตกใช้พูดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย คำเมืองตะวันออกใช้พูดในจังหวัดลำปาง พะเยา แพร่ และน่าน โดยมีแนวแบ่งเขตภาษาถิ่นย่อยอยู่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งอาณาเขตของจังหวัดลำปาง กับจังหวัดเชียงใหม่และจั งหวัดเชียงรายกับจังหวัดพะเยา และจากการดูประวัติของท้องถิ่นและสภาพภูมิศาสตร์ทำให้กล่าวได้ว่าทั้งสองเรื่องนี้มีบทบาทสำคัญทำให้มีอิทธิพลต่อการแบ่งภาษาถิ่นย่อยดังกล่าว-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this thesis is to investigate the division of Kharomuang into regional varieties on the basis of the distribution of vocabulary. The area involved covers 8 provinces in the North of Thailand. In the pilot study semantic units which are represented by different lexical items in the speech of fourteen speakers from seven provinces were selected for use in the questionnaire. The area under investigation was divided into sub-areas of equal size on the basis of the grid system of the map produced by the Royal Thai Army Survey Department with, the scale of 1:250,000. The method of random sampling was used in the selection of a village to represent each sub-area. The questionnaire was sent by post to the head master of the village school. Out of the one hundred and twenty five sub-areas, 90 percent returned the questionnaire. The words obtained for each semantic unit were analyzed to find out the lexical items representing each unit. The distribution of the lexical items for each semantic unit is shown on a map and an isogloss is drawn to mark the boundary of lexical areas. Of the sixty-three maps, four do not contain any isogloss and seven contain insignificant isogloss whereas fifty-two contain significant isoglosses. Forty-four of the fifty-two maps contain bundles of isoglosses which run from the north to the south of the area under investigation dividing if .into areas. It is possible to conclude from these that there are two main sub-dialects of Khamnruang: Western Khammuang and Eastern Khamnruang. In addition, a ratio of the lexical items in Western Kharn- maang and Eastern Khammuang used in each locality was used to locate the boundary between the two regional varieties. The result shows that Western Khasnrruang is spoken in Maehongson, Chiengmai, Lamphun and Chiengrai and Eastern. Khammuang is spoken in Lampang, Phayao, Phrae and Han. The linguistic boundary runs close to the provincial boundary separating Lampang and Lamphun, Lampang and Chiengmai, and Chiengrai and Phayao. A further investigation shows that this linguistic boundary may be explained by the history and geography of the area.-
dc.format.extent14531712 bytes-
dc.format.extent18602781 bytes-
dc.format.extent10003144 bytes-
dc.format.extent24952521 bytes-
dc.format.extent50698297 bytes-
dc.format.extent8147016 bytes-
dc.format.extent8314907 bytes-
dc.format.extent21258661 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleภาษาถิ่นย่อยของคำเมือง : การศึกษาศัพท์en
dc.title.alternativeRegional varieties of Kham Muang : lexical Studyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wantanee_ph_front.pdf14.19 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch1.pdf18.17 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch2.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch3.pdf24.37 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch4.pdf49.51 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch5.pdf7.96 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_ch6.pdf8.12 MBAdobe PDFView/Open
Wantanee_ph_back.pdf20.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.