Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิม ชัยวัชราภรณ์-
dc.contributor.authorเรืองศักดิ์ เจียมพานทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-06T09:08:09Z-
dc.date.available2013-02-06T09:08:09Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745680281-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28765-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างไขมันในร่างกายกับความสามารถในการเคลื่อนไหวทั่วไป และเพื่อเปรียบเทียบจำนวนไขมันในร่างกายระหว่างเด็กชายและเด็กหญิง กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ที่มีอายุระหว่าง 10 - 12 ปี เป็นชาย 294 คน หญิง 282 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบทดสอบความสามารถในการเคลื่อนไหวทั่วไปของแคลิฟอร์เนีย ซึ่งประกอบด้วยการทดสอบ 5 รายการ คือ ยืนกระโดดไกล ลุก-นั่ง ใน 30 วินาที วิ่ง 50 หลา ขว้างลูกซอฟบอล และดึงข้อ (ชาย) หรือดันพื้น (หญิง) วัดไขมันในร่างกายโดยใช้เครื่องวัดความหนาของผิวหนังแบบ แฟท โอ มีเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ไขมันโดย ซี เทสต์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ไขมันในร่างกายกับความสามารถในการยืนกระโดดไกล ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง 2. ไขมันในร่างกายกับความสามารถในการลุก-นั่ง ใน 30 วินาที ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง 3. ไขมันในร่างกายกับความสามารถในการขว้างลูกซอฟบอล ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง 4. ไขมันในร่างกายกับความสามารถในการวิ่ง 50 หลา มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง 5. ไขมันในร่างกายกับความสามารถในการดึงข้อและดันพื้น มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง 6. เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายของเด็กชายและเด็กหญิง มีค่าเฉลี่ย 15.75 และ 20.64 ตามลำดับ ผลการทดสอบค่า ซี พบว่า เด็กชายและเด็กหญิง มีจำนวนไขมันในร่างกายต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเด็กหญิงมีจำนวนไขมันในร่างกายมากกว่าเด็กชาย-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the relationship between the body fatness and general motor ability and to compare the body fatness of boys and girls. The sample used in this study were 294 boys and 282 girls of the elementary school ages between 10-12 years old. The instruments used for collecting the data were California Physical Performance Test which consisted of standing broad jump, sit-ups in 30 seconds 1 50-yard dash, softball throw for distance and pull-ups (boys) knee bent push-ups (girls). The skinfold fat measurement was used to determine the percentage of body fat. The obtained data were analyzed in term of Pearson's Product Moment Coefficient of Correlation. The Z-test method were used to determine the significant difference. It was found that: 1. The body fatness and standing broad jump were not significantly related at the .05 level for both boys and girls. 2. The body fatness and sit-ups were not significantly related at the .05 level for both boys and girls. 3. The body fatness and softball throw for distance were not significantly related at the .05 level for both boys and girls. 4. The body fatness and 50-yard dash were significantly related at the .05 level for both boys and girls. 5. The body fatness and pull-ups, body fatness and knee push-ups were significantly related at the .05 level. 6. The percentage of body fatness means for boys and girls were 15.75 and 20.64 respectively. The Z-test showed that there was a significant difference between the percentage of body fatness of boys and girls at the .05 level. The girls had higher percentage of body fatness than boys.-
dc.format.extent10370728 bytes-
dc.format.extent9763549 bytes-
dc.format.extent14691977 bytes-
dc.format.extent3152406 bytes-
dc.format.extent4019516 bytes-
dc.format.extent6915884 bytes-
dc.format.extent24396726 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างไขมันในร่างกายกับความสามารถ ในการเคลื่อนไหวทั่วไปในเด็กนักเรียนอายุ 10-12 ปีen
dc.title.alternativeThe relationship between body fatness and general moter ability of ten to twelve year-old studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruangsuk_ch_front.pdf10.13 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_ch1.pdf9.53 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_ch2.pdf14.35 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_ch3.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_ch4.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_ch5.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open
Ruangsuk_ch_back.pdf23.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.