Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorฐิศาลินีย์ บุญเลิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-17T04:43:45Z-
dc.date.available2013-02-17T04:43:45Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28873-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษา แนวทางการประยุกต์ใช้การบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง ทำการศึกษากลุ่มผู้ประกอบการแป้งมันสำปะหลังชนิด Native Starch จำนวน 63 ราย มีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมาอย่างสมบูรณ์ 47 ราย จากการศึกษาพบว่า ขั้นตอนในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลังที่องค์กร ให้ความสำคัญในการนำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์ไปประยุกต์ใช้มากที่สุด คือขั้นตอนการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือของโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง ปัจจัยสำคัญภายในองค์กร ที่เป็นตัวผลักดันให้นำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์ มาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลังมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านทรัพยากรขององค์กร ในด้านการสนับสนุนการศึกษาให้บุคลากรมีความรู้และมีการนำแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์ใช้กับกระบวนการทำงาน ปัจจัยสำคัญภายนอกองค์กร ที่เป็นตัวผลักดันให้นำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลังมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านต้นทุนในเรื่องการกำจัดของเสียเป็นปัจจัยที่เป็นตัวผลักดันให้นำการบริหารจัดการแบบกรีน โลจิสติกส์ มาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลังมากที่สุด ในด้านปัญหาในการนำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์มาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลังมากที่สุด ได้แก่ ปัญหาการขาดความรู้ด้านกรีนโลจิสติกส์ของบุคลากรในระดับพนักงานผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการผลิตขององค์กร ประโยชน์ที่องค์กรคาดว่าจะได้รับจากการนำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้มากที่สุด ได้แก่ ประโยชน์ด้านการดำเนินงาน ความต้องการได้รับการสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์จากหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ ความต้องการให้ภาครัฐกำหนดมาตรการสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมด้านกรีนโลจิสติกส์ โดยองค์กรส่วนใหญ่ประเมินตนเองขององค์กรว่าดำเนินกิจกรรมด้านโลจิสติกส์อยู่ในระดับที่กำลังนำการบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ทำให้องค์กรปรับตัวสู่กรีนโลจิสติกส์กับระดับการประเมินตนเองขององค์กร พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร ปัจจัยด้านนโยบายรัฐบาล ปัจจัยด้านกฎหมาย ปัจจัยด้านลูกค้าและตลาด และปัจจัยด้านต้นทุน มีส่วนที่ส่งผลต่อการปรับตัวขององค์กรสู่การบริหรจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์ นอกจากนี้องค์กรยังต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความรู้คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินกิจกรรมด้านกรีนโลจิสติกส์en
dc.description.abstractalternativeThis research is the study of the applications of green logistics management in tapioca starch industry by exploring particularly in the entrepreneur of Native Starch which 47 entrepreneurs were accomplished from 63 entrepreneurs. The study was found out the important processes and factors that were appropriate to apply green logistics management were as follows: Tapioca leftover utilization was emphasized the most in production process. Human resource was essential internal organizational factor; knowledge management should be promoted within organization. The most significant external organizational aspect was social factor and cost factor especially waste management and disposal. There was also the difficulty in the implementation which was the insufficiency of green logistics management knowledge among the production operation officers. However, the organization could be advantaged the most from green logistics management in operational process. The needs for government and related corporation support were the governmental policy and campaign in achieving green logistics management. At present, most organizations evaluated themselves as the beginner in carry outing the green logistics management. In addition, human resource, governmental policy, legal issue, customer, marketing and cost factor had important impact to organization in adaptation their management to green logistics one. Furthermore, the supporting from government and relevant organizations in providing knowledge and initiating activities about green logistics management were necessary.en
dc.format.extent3572586 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2012-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังen
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en
dc.titleแนวทางการประยุกต์ใช้ การบริหารจัดการแบบกรีนโลจิสติกส์ ในอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังen
dc.title.alternativeApplications of green logistics management in tapioca starch industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKamonchanok.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2012-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thisalinee_bu.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.