Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.advisorกนกรัชต์ ตียพันธ์-
dc.contributor.authorภาคภูมิ อรามรุญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialระยอง-
dc.date.accessioned2013-02-19T06:53:04Z-
dc.date.available2013-02-19T06:53:04Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28940-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินทางรังสี สำหรับสถานประกอบการทางรังสี ในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยใช้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 เป็นแนวทางเริ่มต้นและวิเคราะห์ร่วมกับเอกสารภายในประเทศที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่ทำการศึกษา นอกจากนี้ยังได้นำเอกสารทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ฉบับเลขที่ 1162 และฉบับที่ EPR-First Responders 2006 มาพิจารณาร่วมด้วย ผลการศึกษาสรุปว่าแนวทางการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินทางรังสีในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มีลักษณะการดำเนินการแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัยและหลังเกิดภัย โดยครอบคลุมถึงการเตรียมความพร้อม หน้าที่ความรับผิดชอบและแนวทางการดำเนินการของสถานประกอบการทางรังสี หน่วยงานระดับท้องถิ่น หน่วยงานระดับจังหวัดและหน่วยงานระดับชาติที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสี นอกจากนี้ได้ใช้โปรแกรม Hotspot ทำนายการแพร่กระจายของสารกัมมันตรังสีในอากาศโดยวิเคราะห์ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยจำลองการเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีที่เกี่ยวข้องกับสารกัมมันตรังสี 2 ประเภท คือ อเมริเซียม-241 (Am-241) และ ซีเซียม-137 (Cs-137) ผลการศึกษาพบว่า ทั้งสองกรณีไม่มีความจำเป็นต้องอพยพประชาชน เนื่องจากปริมาณรังสีต่ำกว่าค่า Generic Intervention Level แต่อาจต้องจัดเตรียมพื้นที่ ในการตรวจวัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสีเพื่อลดความกังวลของประชาชน นอกจากนี้เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสีควรใช้ความระมัดระวังในการใช้เส้นทางเข้าออกพื้นที่เกิดเหตุรวมถึงการหลีกเลี่ยงการดำเนินการต่างๆ ในพื้นที่ที่มีการฟุ้งกระจายของสารกัมมันตรังสีen
dc.description.abstractalternativeAn Emergency Preparedness Guideline for Radiological Facilities in Map Ta Phut Industrial Estate of Rayong Province was developed. In this study, National Disaster Prevention and Mitigation B.E. 2553-2557 was used as a basis. In addition, domestic documents involving studied areas as well as the International Atomic Energy Agency’s technical document no. 1162 and EPR- First Responders 2006 were taken into consideration while the guideline was being developed. It could be concluded that the preparedness guidelines were divided into three parts according to the timing of the accident. They were actions taken before, during and after the accident. They covered preparedness, responsibility and operational procedures for radiological facilities, local agencies, provincial agencies and national agencies relating to radiation emergency response. In addition, a computer program, Hotspot, and Geographic Information System were used to simulate the radiological dispersion in the air. Two emergency cases were simulated; the dispersion of Am-241 and Cs-137. The simulations results show that the evacuations are not necessary for both cases because the doses are below the Generic Intervention Level. However, it was always advantageous to provide a radiation-screening facility for the public and radiation rescuers. This action could be regarded as a way to reduce the public panic. Furthermore, the radiation rescuers must take extreme precautions when entering, exiting and performing any tasks in the radiation-dispersing area.en
dc.format.extent4417544 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1581-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรังสีวิทยา -- มาตรการความปลอดภัย -- ไทย -- ระยองen
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรม -- มาตรการความปลอดภัย -- ไทย -- ระยองen
dc.subjectการจัดการภาวะฉุกเฉิน -- มาตรการความปลอดภัย -- ไทย -- ระยองen
dc.titleแนวทางการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินทางรังสีสำหรับสถานประกอบ การทางรังสี ในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองen
dc.title.alternativeAn emergency preparedness guideline for radiological facilities in Map Ta Phut Industrial Estate of Rayong Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupitcha.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1581-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phakphum_ar.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.