Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29088
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรเกียรติ์ เสถียรไทย | |
dc.contributor.author | พนิตพร ศรประชุม | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-02-23T06:58:39Z | |
dc.date.available | 2013-02-23T06:58:39Z | |
dc.date.issued | 2534 | |
dc.identifier.isbn | 9745792497 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29088 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en |
dc.description.abstract | การให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรในประเทศไทยนั้น มิได้ให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรแก่งานประดิษฐ์ทุกประเภท เนื่องจากการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรเป็นการให้สิทธิพิเศษแต่เพียงผู้เดียวแก่ผู้ประดิษฐ์ ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมได้ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 จึงได้มีบทบัญญัติกำหนดให้งานประดิษฐ์บางประเภทไม่อาจขอรับสิทธิบัตรได้ โดย เฉพาะงานประดิษฐ์ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยา การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพิจารณาหาแนวทางที่เหมาะสมในการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตร ผลิตภัณฑ์ยาในประเทศไทย เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยาก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ประดิษฐ์คิดค้นและต่อสังคมส่วนรวม โดยพิจารณาถึงสภาพและระดับของการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นสำคัญ ผลการวิจัยพบว่าการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยาเพียงอย่างเดียวอาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมในด้านต่าง ๆ ได้ ดังนั้นหากประ เทศไทยจะขยายความคุ้มครองสิทธิบัตรแก่ ผลิตภัณฑ์ยาแล้วจะต้องพิจารณาหามาตรการเข้ามาใช้ควบคู่ เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยาก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ประดิษฐ์และสังคมส่วนรวม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้อธิบายถึงหลักกฎหมายและทฤษฏีในการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตร และการให้ความคุ้มครองผลประโยชน์ของสังคม ตลอดจนกฎหมายหรือมาตรการที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยา รวมทั้งข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ ที่จะนำมา ใช้ควบคู่กับการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยา | |
dc.description.abstractalternative | The protection of patent in Thailand only apply to certain category of inventive work. This is due to the fact that the protection of patent gives an exclusive protection to the inventor and thus affecting the public as a whole and which is why Patent Act B.E. 2522 mandates that certain kind of inventive work may not apply for patent at all i.e. the inventive work of pharmaceutical product. The objective of this research is to find an appropriate guidelines for the protection of pharmaceutical patent in Thailand so that such protection will benefit the inventor and the public as a whole. In this endeavor, special emphasis is being given to the condition and level of development of the economic, social, and science and technology as a whole. This research concludes that the extension of protection of patent to pharmaceutical patent product 'per se' may not be adequate and can create a negative impact to the public as a whole in various aspects. It is therefore recommended that if Thailand were to extend the protection of patent to pharmaceutical patent product certain safeguard measures should also be devised in order to ensure that the protection of patent of pharmaceutical product would benefit both the inventor and the public as a whole This thesis explains the legal principle and the theory on the protection of patent and on the protection of public's interest, including laws or guidelines which can be adopted for the protection of patent of pharmaceutical product and the recommendations on different means which can be used for the protection of patent of pharmaceutical product. | |
dc.format.extent | 6150454 bytes | |
dc.format.extent | 8779346 bytes | |
dc.format.extent | 19668534 bytes | |
dc.format.extent | 23903375 bytes | |
dc.format.extent | 11511935 bytes | |
dc.format.extent | 22206464 bytes | |
dc.format.extent | 7146310 bytes | |
dc.format.extent | 7658457 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | แนวทางการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ยาในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Guideliness for pharmaceutical product patent protection in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panitporn_so_front.pdf | 6.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch0.pdf | 8.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch1.pdf | 19.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch2.pdf | 23.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch3.pdf | 11.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch4.pdf | 21.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_ch5.pdf | 6.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Panitporn_so_back.pdf | 7.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.