Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยยุทธ ธัญพิทยากุล
dc.contributor.advisorกัลยา เลาหสงคราม
dc.contributor.advisorสายวรุฬ ชัยวานิชศิริ
dc.contributor.authorพิชญ์อร วนาอินทรายุทธ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-02-26T07:07:27Z
dc.date.available2013-02-26T07:07:27Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.isbn9745821713
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29111
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en
dc.description.abstractปลาหมึกเป็นผลิตภัณฑ์ประมงที่นิยมนำมาแช่แข็ง เพื่อการส่งออก การทราบค่าสมบัติทางความร้อนของปลาหมึกในช่วงอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งจึงมีความสำคัญต่อการหาเวลาที่เหมาะสมกระบวนการแปรรูป เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและปรับปรุงเครื่องมือสำหรับหาค่าสมบัติทางความร้อนของปลาหมึกให้เหมาะสม และศึกษาผลของพันธุ์ (Loligo formosana และ Sepia pharaonis) ภาวะการละลาย(ผ่านการละลายและไม่ผ่านการละลาย) และอุณหภูมิ (-401,-301, -181 และ -101 องศาเซลเซียส) ที่มีต่อสมบัติทางความร้อนซึ่งได้แก่ความร้อนจำเพาะสภาพนำความร้อน และสภาพแพร่ความร้อน และหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าสมบัติทางความร้อนของปลาหมึกกับพันธุ์ ภาวะการละลายและอุณหภูมิ การหาค่าความร้อนจำเพาะด้วยวิธี modified method of mixture ค่าสภาพนำความร้อนด้วยวิธี Thermal conductivity probe และค่าสภาพแพร่ความร้อนโดยใช้ thermal diffusivity plate พบว่าพันธุ์ ภาวะการละลาย และอุณหภูมิ มีผลต่อค่าความร้อนจำเพาะ สภาพนำความร้อน และสภาพแพร่ความร้อนของปลาหมึก โดยค่าความร้อนจำเพาะ ค่าสภาพนำความร้อน และค่าสภาพแพร่ความร้อน ในช่วงการแช่แข็งของปลาหมึกกล้วยที่ไม่ผ่านการละลายมีค่าเท่ากับ 0.481-1.146 แคลอรีต่อกรัม องศาเซลเซียส 1.311-1.567 วัตต์ต่อเมตร องศาเคลวิน และ2.761x10-7 -7.45x10-7เมตร2 ต่อวินาที ตามลำดับและปลาหมึกกล้วยที่ผ่านการละลายมีค่า 0.375-1.017 แคลอรีต่อกรัม องศาเซลเซียส 1.156-1.394 วัตต์ต่อเมตร องศาเคลวิน และ 2.833x10-7 -8.8x10-7 เมตร2ต่อวินาที ตามลำดับ สำหรับปลาหมึกกระดองที่ไม่ผ่านการละลายในช่วงแช่แข็งมีค่าความร้อนจำเพาะ ค่าสภาพนำความร้อน และค่าสภาพแพร่ความร้อน เท่ากับ 0.435-1.111 แคลอรีต่อกรัม องศาเซลเซียส 1.279-1.523 วัตต์ต่อเมตร องศาเคลวิน และ2.89x10-7 -8.492x10-7 เมตร2ต่อวินาที ตามลำดับ ส่วนปลาหมึกกระดองที่ผ่านการละลายในช่วงแช่แข็งมีค่า 0.426-1.066 แคลอรีต่อกรัม องศาเซลเซียส 1.244-1.493 วัตต์ต่อเมตร องศาเคลวิน และ2.90x10-7 -8.55x10-7 เมตร2ต่อวินาที ตามลำดับ ค่าความร้อนจำเพาะ ค่าสภาพนำความร้อน และค่าสภาพแพร่ความร้อนของปลาหมึกทั้งสองชนิดมีความสัมพันธ์แบบ polynomial กับ พันธุ์ ภาวะการละลาย และอุณหภูมิ
dc.description.abstractalternativeSquids and Cuttle fishs are most popular frozen marine products for export. It is therefore necessary to know their thermal properties in the freezing range in order to calculate the applicable freezing time in process. This research focused on; first, designing and improving the proper equipment for measuring their specific heat, thermal conductivity and thermal diffusivity of squid and cuttle fish and second, studying the effects of breeds (Loligo formosana and Sepia pharaonis), conditions of thawing (unthawed and thawed) and temperatures (-401,-301, -181 and -101 C) on their thermal properties. The third part was to determine the relationship between thermal properties and breeds conditions of thawing and temperatures. The specific heat, thermal conductivity and thermal diffusivity of squid and cuttle fish were measured by modified method of mixture, the thermal conductivity probe and the thermal diffusivity plate, respectively. The corresponding specific heat, thermal conductivity and thermal diffusivity of unthawed squid were 0.481-1.146 cal/g C, 1.311-1.567 W/m K and 2.761x10-7 -7.451x10-7 m2/s while the thawed squid were 0.357-1.017 cal/g C, 1.156-1.394 W/m K and 2.833x10-7-8.814x10-7 m2/s. The values of specific heat, thermal conductivity and thermal diffusivity of unthawed cuttlefish were 0.453-1.111 cal/g C, 1.279-1.523 W/m K and2.891x10-7 -8.492x10-7 m2/s and those of thawed cuttlefish were 0.426-1.066 cal/g C, 1.244-1.493 W/m K and2.901x10-7-8.554x10-7 m2/s, respectively. The relationship between thermal properties of squid and cuttle fish and breeds, conditions of thawing and temperatures were found to be polynomial functions.
dc.format.extent7103733 bytes
dc.format.extent702636 bytes
dc.format.extent17704693 bytes
dc.format.extent7340283 bytes
dc.format.extent14311859 bytes
dc.format.extent1757242 bytes
dc.format.extent11030725 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleสมบัติทางความร้อนของปลาหมึกกล้วยและปลาหมึกกระดองen
dc.title.alternativeThermal properties of solid and culture fishen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitchaon_wa_front.pdf6.94 MBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_ch1.pdf686.17 kBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_ch2.pdf17.29 MBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_ch3.pdf7.17 MBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_ch4.pdf13.98 MBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_ch5.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Pitchaon_wa_back.pdf10.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.